โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔ โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔ สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้ได้รับความรู้การผลิตสินค้าเกษตร ตามระบบการจัดการคุณภาพเพื่อการรับรองมาตรฐานแหล่งผลิต GAP และเกษตรอินทรีย์
เป้าหมาย จำนวน ๘๕,๙๓๐ ราย ๗๖ จังหวัด เพื่อพัฒนาเกษตรกรจำนวน ๘๘,๘๕๐ ราย แยกเป็น ๑. เกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (สพส.) จำนวน ๘๕,๙๓๐ ราย ๗๖ จังหวัด ๒. เกษตรกรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์เชิงพาณิชย์ สู่สากล (สพส.) จำนวน ๔๒๐ ราย ๙ จังหวัด ๓. เกษตรกรเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ (สสจ.) จำนวน ๒,๕๐๐ ราย ๑๓ จังหวัด
กิจกรรมภายใต้โครงการ กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP (สพส.) กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์ เชิงพาณิชย์สู่สากล (สพส.) กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ (สสจ.)
วิธีการดำเนินงาน ของแต่ละกิจกรรม
๑. กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP ประกอบด้วย ๑.๑ อบรมเพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษาเกษตรกร ระดับอำเภอ จำนวน ๑,๕๐๐ ราย เวลา ๓ วัน (สสข.) ๑.๒ อบรมเกษตรกร จำนวน ๘๕,๗๓๐ ราย เวลา ๒ วัน (จังหวัด/ อำเภอ) ๑.๓ ติดตามให้คำปรึกษาและประเมินแปลงเบื้องต้น จำนวน ๓๕,๙๓๐ แปลง (อำเภอ)
แบบกลุ่ม จำนวน ๖ กลุ่ม ๒๐๐ ราย เวลา ๓ วัน (จังหวัด/ อำเภอ) ๑.๔ อบรมเกษตรกรฝึกปฏิบัติเพื่อเข้าสู่การรับรองมาตรฐาน GAP แบบกลุ่ม จำนวน ๖ กลุ่ม ๒๐๐ ราย เวลา ๓ วัน (จังหวัด/ อำเภอ) ๑.๕ จัดทำคู่มือที่ปรึกษาเกษตรกร จำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม (สพส.) ๑.๖ จัดประชุมเจ้าหน้าที่ระดับเขต จำนวน ๒๗๐ คน ๑.๖.๑ สสข.๑,๒ และ ๓ เขตละ ๓๐ คน ๑.๖.๒ สสข.๔,๕ และ ๖ เขตละ ๖๐ คน
๒. กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เชิงพาณิชย์สู่สากล ประกอบด้วย ๒.๑ อบรมเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร จำนวน ๕๐ ราย (สพส.) ๒.๒ ประชุมจัดตั้งกลุ่มการผลิตข้าว ผักและชาอินทรีย์ จำนวน ๒๑ กลุ่ม (จังหวัด) ๒.๓ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชอินทรีย์ และ ทัศนศึกษาดูงาน จำนวน ๔๒๐ ราย (จังหวัด)
๒. กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่การรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เชิงพาณิชย์สู่สากล (ต่อ) ๒.๔ ตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น จำนวน ๔๒๐ แปลง (จังหวัด) ๒.๕ ผลิตสื่อและสิ่งพิมพ์เกษตรอินทรีย์ จำนวน ๒ ชนิด (สพส.) ๒.๖ สร้างเครือข่ายการผลิต การตลาด จำนวน ๙ จังหวัด ๒.๗ จัดงานมหกรรมสินค้าเกษตรอินทรีย์ จำนวน ๑ ครั้ง (สพส.)
๓. กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและลดต้นทุนการผลิตกาแฟ (สสจ.)
ผลผลิต ผลลัพธ์ เกษตรกรได้รับความรู้จำนวน ๘๘,๘๕๐ ราย เกษตรกรได้รับความรู้จำนวน ๘๘,๘๕๐ ราย ผลลัพธ์ เกษตรกรร้อยละ ๖๐ ของเกษตรกรที่ได้รับ การถ่ายทอดความรู้ นำความรู้ไปปฏิบัติ
ขอบคุณมาก