บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
ความหมายของหลักฐานการสอบบัญชี ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ผู้สอบบัญชีได้รับหรือรวบรวมจากการใช้วิธีการตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ใช้สนับสนุนข้อสรุปผลการตรวจสอบ และใช้ข้อสรุปนั้นเป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชี
ประเภทของหลักฐานการสอบบัญชี ตามเกณฑ์ความเกี่ยวข้องทางบัญชี ตามเกณฑ์แหล่งที่มา ตามเกณฑ์วิธีการตรวจสอบ
หลักฐานตามเกณฑ์ความเกี่ยวข้องทางบัญชี หลักฐานทางการบัญชี หลักฐานประภอบต่างๆ
หลักฐานตามเกณฑ์แหล่งที่มา หลักฐานจากภายในกิจการ หลักฐานจากภายนอกกิจการ หลักฐานจากการปฏิบัติงานโดยอิสระของผู้สอบบัญชี
หลักฐานตามเกณฑ์วิธีการตรวจสอบ การสังเกตการณ์ การสอบถาม การขอคำยืนยันยอด การคำนวณ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
คุณลักษณะของหลักฐานการสอบบัญชี ความเพียงพอของหลักฐานการสอบบัญชี ปัจจัยกำหนดขนาดตัวอย่าง ความเหมาะสมของหลักฐานการสอบบัญชี ความเกี่ยวพันของหลักฐานการสอบบัญชี แหล่งที่มาของหลักฐานการสอบบัญชี หลักฐานการสอบบัญชีจากภายนอกน่าเชื่อถือมากกว่าหลักฐานจากภายใน หลักฐานการสอบบัญชีภายในน่าเชื่อถือมากขึ้นถ้ามีระบบการควบคุมภายในที่ดี หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับโดยตรงน่าเชื่อถือมากกว่าได้รับจากกิจการ หลักฐานเป็นเอกสารน่าเชื่อถือมากกว่าเป็นวาจา หลักฐานที่ต้องใช้ดุลพินิจมากน่าเชื่อถือน้อยกว่าหลักฐานที่ใช้ดุลพินิจน้อย เวลาในการตรวจสอบ
การตัดสินใจในหลักฐานการสอบบัญชี วิธีการตรวจสอบ ขนาดของตัวอย่าง เกณฑ์การเลือกรายการมาตรวจสอบ ช่วงเวลาเข้าตรวจ
สิ่งที่ผู้บริหารให้การรับรองไว้เกี่ยวกับงบการเงิน ความมีอยู่จริง สิทธิและภาระผูกพัน เกิดขึ้นจริง ความครบถ้วน การแสดงมูลค่าหรือการตีราคา การวัดมูลค่า การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล
ความถูกต้องในสิ่งที่ผู้บริหารให้การรับรอง การจัดประเภทรายการและเหตุการณ์ของงวดที่ตรวจสอบ ยอดคงเหลือทางบัญชี การแสดงรายการและการเปิดเผยในงบการเงิน
วิธีการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชี การตรวจ การตรวจสินทรัพย์ที่มีตัวตน การตรวจบันทึกทางบัญชีและเอกสาร Vouching / Tracing การสังเกตการณ์ การสอบถาม การขอคำยืนยัน แบบตอบทุถกรณี / แบบตอบเมื่อทักท้วง การคำนวณ การปฏิบัติซ้ำ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ประเภทของการตรวจสอบ การประเมินความเสี่ยง การทดสอบการควบคุม ทดสอบรายการบัญชี การสอบถามและสังเกตการณ์เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน การปฏิบัติซ้ำเกี่ยวกับการควบคุมภายใน การตรวจสอบเนื้อหาสาระ การทดสอบรายละเอียดของรายการ การทดสอบรายละเอียดของยอดคงเหลือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ