การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข งานส่งกำลังรถยนต์ สงวนลิขสิทธิ์ 43/1 5/1 หน่วยที่ 5 การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์
การตรวจซ่อมชุดคลัตช์รถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข 43/2 5/2 สงวนลิขสิทธิ์ จุดมุ่งหมายของหน่วยเรียน 1. อธิบายสาระสำคัญประจำหน่วยได้ 2. ปฏิบัติการถอดตรวจและประกอบชุดคลัตช์แบบ สปริงหวีได้ 3. ปฏิบัติการถอดตรวจและประกอบชุดคลัตช์แบบ สปริงขดได้ 4. ปฏิบัติการเตรียมประกอบกระปุกเกียร์เข้ากับ เครื่องยนต์ได้ 5. เพื่อให้มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ประณีต รอบคอบและตระหนักถึง ความปลอดภัย
ชุดคลัตช์รถยนต์ 1. ชุดควบคุมคลัตช์ 2. ส่วนประกอบ หนังสือหน้า หมายเลข หนังสือหน้า หมายเลข 44/1 5/3 สงวนลิขสิทธิ์ 1. ชุดควบคุมคลัตช์ 2. ส่วนประกอบ 1 8 2 3 4 5 6 7
การถอดคลัตช์รถขับล้อหน้า หนังสือหน้า หมายเลข 44/2 5/4 สงวนลิขสิทธิ์ 4 1 3
การถอดคลัตช์รถขับล้อหลัง หนังสือหน้า หมายเลข 44/3 5/5 สงวนลิขสิทธิ์ 2 1 9 6 A. 5 4 8 11 A 10 7 9
การตรวจจานคลัตช์บิดงอ หนังสือหน้า หมายเลข 46 5/6 สงวนลิขสิทธิ์
เครื่องย้ำหมุด 1. แท่นย้ำหมุด 2. เดือยอัดหมุด หนังสือหน้า หมายเลข หนังสือหน้า หมายเลข 47 5/7 สงวนลิขสิทธิ์ 1. แท่นย้ำหมุด 2. เดือยอัดหมุด เหล็กอัด เหล็ก รอง
ถอดชุดกดคลัตช์แบบสปริงขด หนังสือหน้า หมายเลข 51 5/8 สงวนลิขสิทธิ์ 1. ชุดกดคลัตช์ 1 2 2. ภาพแยกชิ้น ชุดนิ้วคลัตช์ สลัก สกรูและฝาครอบ ขาลูกปืน เดือยจุดหมุน แผ่นกด ลูกปืนและปลอก สปริง
กิจกรรมี่ 5.1 เรื่องการตรวจซ่อมชุดคลัตช์รถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข 52/1 5/9 สงวนลิขสิทธิ์ เรื่องการตรวจซ่อมชุดคลัตช์รถยนต์ ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มตรวจสปริงชุดกดคลัตช์ตามหัวข้อต่อไปนี้ 1 วัดความยาวอิสระของสปริง กำหนดให้ ……………..……... มม. 2 วัดความเอียงของสปริง กำหนดให้ไม่เกิน …….………... มม. สปริงตัวที่ ผลการวัด สภาพ (มม.) (ดี/ไม่ดี) 1 2 3 4 5 6 สปริงตัวที่ ความยาว A ความเอียง B (มม.) (มม.)
กิจกรรมี่ 5.1 3 วัดความแข็งของสปริง สปริงตัวที่ ความแข็ง สภาพ หนังสือหน้า หมายเลข 52/2 5/10 สงวนลิขสิทธิ์ 3 วัดความแข็งของสปริง กำหนดให้กดลง ……………..……... มม. สปริงตัวที่ ความแข็ง สภาพ (กก.) (ดี/ไม่ดี) 1 2 3 4 5 6
การหล่อลื่นและการขันแน่นชุดควบคุมคลัตช์ หนังสือหน้า หมายเลข 55 5/11 สงวนลิขสิทธิ์ จานคลัตช์ ชุดกดลัตช์ น็อตท่อน้ำมันคลัตช์ แม่ปั๊มคลัตช์ กระบอกคลัตช์ ลูกปืนกดคลัตช์ ท่อยาง ยางกันฝุ่น ขาก้ามปู : หล่อลื่น : Nm (kg-m, ft-lb) สกรูไล่ลม ท่อน้ำมันคลัตช์ (เหล็ก) ท่อยาง
กิจกรรมที่ 5.2 เรื่องการตรวจซ่อมชุดคลัตช์รถยนต์ หนังสือหน้า หมายเลข 56/1 5/12 สงวนลิขสิทธิ์ เรื่องการตรวจซ่อมชุดคลัตช์รถยนต์ ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มทดลองสภาพการส่งกำลังของคลัตช์รถยนต์รุ่นเดียวกัน 3 ชุด สภาพการต่างกัน ตามตารางต่อไปนี้ เพื่อหาสาเหตุคลัตช์ลื่นที่มีสัมพันธ์ต่อการตั้งคลัตช์ โดยใส่ชุดคลัตช์กับล้อช่วยแรง ทำหัวเพลาคลัตช์ 6 เหลี่ยม ขันด้วยประแจทอร์ก ทอร์กที่คลัตช์ ส่งกำลังได้ ลำดับคลัตช์ (ขันด้วย ประแจทอร์ก) ช่วงกด V ล้อช่วยแรงลึก ผ้าคลัตช์หนา ความสูงแป้นกด V T S A Nm V มม. T มม. S มม. A มม. 1 90 2 20 3 15
การตรวจสภาพเพลาข้อเหวี่ยง หนังสือหน้า หมายเลข การตรวจสภาพเพลาข้อเหวี่ยง สงวนลิขสิทธิ์ 67/6 5/15 ลำดับ คลัตช์ ปล่อยคลัตช์ 4 เหยียบคลัตช์ ช่วงเหยียบ มม. คลัตช์( l ) จานคลัตช์ดี จานคลัตช์ บิดงอ ข้อสังเกต แรงกดผ้าคลัตช์ขึ้นอยู่กับความลึกล้อช่วยแรงและความหนาผ้าคลัตช์ ผ้าคลัตช์บางหรือเปื้อนน้ำมันส่งกำลังได้น้อย ผ้าคลัตช์สึกหรอทำให้ระยะฟรีแป้นเหยียบคลัตช์ลดลง จานคลัตช์บิดงอมีผลกระทบต่อการทำงานของคลัตช์
การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์ จบหน่วยที่ 5 การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์