หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยี
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 1 สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
Information Repackaging อาจารย์ธนากร อุยพานิชย์ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
รายวิชา การบริหารการศึกษา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ การศึกษา หมายถึง การเรียน ฝึกฝน และอบรมสารสนเทศ ( INFORMATION ) หมายถึง ความรู้ เรื่องราว ข่าวสาร ข้อมูล ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดต่างๆ ของมนุษย์ที่ได้ผ่านการประมวลผลแล้ว และบันทึกไว้ในสื่อหรือวัสดุในรูปแบบต่าง ๆ ที่สามารถถ่ายทอดและเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้ทราบ

สารนิเทศ จะเน้นการจัดเนื้อหา ให้เหมาะสมกับการเผยแพร่ของระบบโทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์แบบดั้งเดิม สารสนเทศจะเน้นการใช้เทคโนโลยีทั้งฮาร์ทแวร์และซอฟแวร์ ที่คุณภาพสูงในการจัดเก็บข้อมูลในรูปที่ส่งข้อมูลหรือกระจายข่าวสารในระบบโทรคมนาคมต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ ดาวเทียม โทรศัพท์ เป็นต้น

ในยุคแรก ๆ มนุษย์รู้จักการบันทึกความรู้ไว้บนวัสดุต่าง ๆ เช่น หิน ดินเหนียว ใบไม้ ต่อมามนุษย์ได้คิดค้นทำกระดาษได้สำเร็จ จึงจารึกหรือเขียนไว้บนกระดาษเพื่อใช้เป็นหลักฐาน และต่อมาได้คิดค้นระบบการพิมพ์ จึงมีการพิมพ์ทำเป็นรูปเล่มหนังสือ และสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ซึ่งสามารถรับรู้ไดด้วยการดูหรืออ่าน

ปัจจุบันได้มีการพัฒนาการจัดเก็บสารสนเทศลงในคอมพิวเตอร์ ในรูปของอิเล็กทรอนิกส์โดยแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นภาพ หรือตัวอักษร หรือเสียงให้ปรากฏบนจอภาพ หรือผ่านออกมาทางเครื่องพิมพ์ หรือผ่านออกมาทางลำโพง จึงจะรับรู้ได้

ชนชาติที่รู้จักเขียนหนังสือเป็นชาติแรกคือ ? สุเมเรียน ราวประมาณ 4000 กว่าปี โดยจารึกบนแผ่นดินเหนียว ชาวอียิปต์บันทึกบนแผ่นปาปิรัส ชนชาติที่ทำกระดาษใช้เองคือ ? จีน

ศัพท์ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ 1. ข้อมูล (Data) หมายถึงข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริงสำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความเป็นจริง หรือการคำนวณ จะมีลักษณะเป็นสัญลักษณ์ ตัวเลข หรือเป็นลักษณะของข้อความ ตัวอักษร รูปภาพ แทนการกระทำหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ สำหรับใช้ในการวินิจฉัย แต่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ซึ่งถือว่าเป็นข้อมูลดิบ

2. ความรู้ ( Knowledge ) หมายถึง ข้อมูล หรือสารสนเทศที่ได้ผ่านการวิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผล โดยอาศัยหลักการจัดเก็บ การบันทึก การแก้ไขปรับปรุงให้ทันสมัย มีการค้นหา และค้นคว้าแล้วนำไปใช้ในด้านการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทักษะทางเทคนิค และทักษะทางสังคม

วัสดุสารสนเทศ( Information Materials ) หมายถึง วัสดุรูปแบบต่าง ๆ ที่มีการบันทึกสารสนเทศอันเป็นประโยชน์โดยใช้อักษร ภาพ สัญลักษณ์ รหัส หรือเสียง เราเรียกวัสดุสารสนเทศว่า “ทรัพยากรสารสนเทศ” ( Information Resources ) เพราะเป็นบ่อเกิดแห่งทรัพย์สินทางปัญญา วัสดุสารสนเทศแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ วัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์

4. แหล่งสารสนเทศ ( Information Sources ) หมายถึงแหล่งหรือสถานที่ที่รวบรวมสารสนเทศ เพื่อให้บริการในการศึกษาค้นคว้าวิจัย และจรรโลงใจ ตามความต้องการของผู้ใช้ 5. เทคโนโลยีสารสนเทศ ( Information Technology ) หมายถึงกระบวนการและเครื่องจักรกล ตลอดจนอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดเก็บสารสนเทศเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามความต้องการของผู้ใช้ และเผยแพร่โดยใช้เครื่องจักรกลทางโทรคมนาคม และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

บทบาทของสารสนเทศ 1. พัฒนาวิทยาการ 2. พัฒนาประเทศ 3. พัฒนาการพาณิชย์ 1. พัฒนาวิทยาการ 2. พัฒนาประเทศ 3. พัฒนาการพาณิชย์ 4. พัฒนาด้านการศึกษา 5. พัฒนาด้านการเมือง 6. พัฒนาด้านอุตสาหกรรม 7. พัฒนาด้านวัฒนธรรม

ลักษณะข้อมูลสารสนเทศที่ดี 1. มีความถูกต้อง ( Accuracy ) มีคุณค่าในด้าน ความน่าเชื่อถือ ( Reliability) 2. ความครบถ้วนสมบูรณ์ ( Completeness ) 3. ความเป็นปัจจุบัน ( Up – Date ) 4. ความต่อเนื่อง ( Accumulation ) 5. กะทัดรัด ( Brief ) 6. สะดวก ( Easy to Retrieve)

แหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล เช่น ทำเนียบนักวิจัย 1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล เช่น ทำเนียบนักวิจัย 2. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่ เช่น เมืองจำลอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สวนสัตว์ดุสิต 3. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถาบัน เช่น หน่วยงานสถิติ หอจดหมายเหตุ 4. แหล่งสารสนเทศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต