จากข้อแนะนำกรมฯเพื่อสรุปบทเรียน จัดทำแผน จัดการความรู้ ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
รายงานสรุปการตรวจประเมิน
Continuous Quality Improvement
SMS News Distribute Service
กองแผนงานและวิชาการ & ศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จากข้อแนะนำกรมฯเพื่อสรุปบทเรียน จัดทำแผน จัดการความรู้ ปี 2558 แนวทางการดำเนินการ จากข้อแนะนำกรมฯเพื่อสรุปบทเรียน จัดทำแผน จัดการความรู้ ปี 2558 สำนักชลประทานที่ 3

การจัดทำแผน แนวทางกลยุทธ การจัดทำแผน ผศ.ชป.3 มอบนโยบาย ข้อมูลจาก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข้อมูลจากผู้ เข้าร่วมประชุม ได้แผนแม่บท/คู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงาน/Action Plan เกิดการยอมรับ สัมพันธ์ที่ดี นำไปใช้เตรียม พร้อมปี 2558 การประกาศ แจ้งเตือน จัดประชุม สรุปบทเรียน แนวทางกลยุทธ การจัดทำแผน ผศ.ชป.3 มอบนโยบาย

เกณฑ์ KMA หมวดที่ ๑ การนำองค์กร หมวดที่ ๒ การวางแผนยุทธศาสตร์ หมวดที่ ๑ การนำองค์กร หมวดที่ ๒ การวางแผนยุทธศาสตร์ หมวดที ๓ การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้เสีย หมวดที่ ๔ การวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ หมวดที่ ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวดที่ ๖ การจัดการกระบวนการ หมวดที่ ๗ ผลลัพธ์

หมวด 1

หมวด 1 ประเด็นคำถาม คะแนน CKO สำนัก/กอง สนับสนุนให้มีการนำ 1.8 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 CKO สำนัก/กอง สนับสนุนให้มีการนำ เครื่องมือการจัดการความรู้ ( KM Tools เช่น CoPs, Story Telling, K-Forum, K- Asset, Best Practice,Peer Assist , Cross- functional Team ฯลฯ ) มาใช้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงานใน สำนัก/กองอย่างไร แนวทางการตอบ KM Tools ที่ CKO สำนัก/กองให้นำมาใช้ เพราะอะไร/ เพื่ออะไร และ CKO มีการติดตามผลการใช้เครื่องมือดังกล่าวว่าทำให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลต่อผลดำเนินงานของสำนัก/กองอย่างไร

หมวด 1 ประเด็นคำถาม คะแนน CKO สำนัก/กอง กำหนดให้มีการสรุป 2 3 4 5 CKO สำนัก/กอง กำหนดให้มีการสรุป บทเรียนผลการดำเนินงานตามภารกิจ (AAR) และหารือร่วมกันเพื่อสนับสนุน การสร้างนวัตกรรม (แนวทาง/กระบวนการ การทำงานแบบใหม่ที่ดีกว่าเดิมหรือ สิ่งประดิษฐ์) เพื่อปรับปรุงการทำงานของ สำนัก/กองอย่างไร 1.9 แนวทางการตอบ มีการสรุปบทเรียนผลการดำเนินงาน(AAR) แผนงาน/โครงการและ ภาพรวมผลการดำเนินงานของสำนัก/กองตามอย่างไร และนำผลการ สรุปบทเรียนไปใช้เป็นแนวทางการปรับปรุงการทำงาน หรือการสร้าง นวัตกรรมใหม่อย่างไร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 1.9 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 มีการสรุปบทเรียนผลการดำเนินงาน(AAR) โครงการโครงข่ายน้ำยม-น่าน เพื่อนำผลการสรุปบทเรียนไปใช้เป็นแผนแม่บทพัฒนาโครงข่ายน้ำยม-น่าน โดยมี แนวทางการปรับปรุงการทำงาน การสร้างนวัตกรรม ตลอดจนวิธีการใหม่ นำไปสู่คู่มือ เอกสารการปฏิบัติงาน สามารถนำมาใช้เป็นแบบแผน เตรียมการรับมือน้ำท่วม ยม-น่าน ในพื้นที่ สชป.3-4 ในปี 2558 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงาน สชป.๓ สรุปบทเรียน ผลผลิต ตัวชี้วัด? (ที่มีปัญหา หรือ จะพัฒนาต่อยอด) การแก้ไขปัญหา . (เป้าหมาย ผลลัพธ์ ไม่ตามเป้า ) การพัฒนาต่อยอด (เป้าหมาย ผลลัพธ์ ตามเป้า ) - มีแผนปฎิบัติการ ของสำนักฯเพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนา ต่อยอดอย่างไร (action plan) - นำความรู้อะไรมาช่วยแก้ไขหรือพัฒนา (แผนจัดการความรู้) สรุป .... เลือก ผลผลิตที่ 1 การบริหารจัดการน้ำ ปัญหาที่เกิด ..... การส่งน้ำฤดูแล้ง ได้ไม่ตรงตามเป้าหมาย วิธีการ ...... วิธีแรก ตามที่ ผอ.พลายชุมพล นำเสนอ การประกันปริมาณน้ำเข้าสู่คลองซอย (ทำอย่างไร ขั้นตอน 13 ขั้นตอน) ทำแผนจัดการความรู้เพื่อ นำสู่วิธีการแก้ไขปัญหา

การสรุปบทเรียนสู่แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงาน สชป.๓ สรุป .... เลือก ผลผลิตที่ 1 การบริหารจัดการน้ำ ผลผลิตที่ 4 การบรรเทาภัยจากน้ำ ปัญหาที่เกิด ..... การส่งน้ำฤดูแล้ง ได้ไม่ตรงตามเป้าหมาย วิธีการ ...... วิธีแรก ตามที่ ผอ.พลายชุมพล นำเสนอ การประกันปริมาณน้ำเข้าสู่คลองซอย ...... วิธีที่สอง โดย ผอ.พิษณุโลก ทำอย่างไร ยม-น่าน จะมีส่วนร่วมเข้าบริหารจัดการ ปตร.หาดสะพานจันทร์ ...... วิธีที่สาม โดย ผส.ชป. การสร้าง ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง ...... วิธีที่สี่ โดย ผอ.ยม-น่าน ปรับตัวชี้วัด และช่วงเวลาการเพาะปลูก เสริมแหล่งกักเก็บน้ำ เลือกวิธีแล้วทำแผนจัดการความรู้เพื่อ นำสู่วิธีการแก้ไขปัญหา (ทำอย่างไร >>> ขั้นตอน 13 ขั้นตอน) สรุปแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาแผนงาน/โครงการ มติ >>> การบริหารจัดการน้ำในโครงการส่งน้ำฯยม-น่าน เป้าหมาย ... องค์ความรู้ที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการน้ำ นำไปสู่การบรรเทาปัญหาการบริหารจัดการน้ำ

การสรุปบทเรียนสู่แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงาน สชป.๓ สรุป .... เลือก ผลผลิตที่ 2 การพัฒนาแหล่งน้ำ (คะแนนเต็ม) พัฒนาต่อยอด ..... การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพงานก่อสร้าง วิธีการ ...... วิธีแรก โดย ผปก.ชป.3 ปรับปรุงงานโครงการก่อสร้างชลประทานขนาดเล็กให้สมบูรณ์ ครบถ้วน ....... การประมาณราคาค่าก่อสร้าง งบประมาณ ปมก. เลือกวิธีแล้วทำแผนจัดการความรู้เพื่อ นำสู่วิธีการแก้ไขปัญหา (ทำอย่างไร >>> ขั้นตอน 13 ขั้นตอน) สรุปแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาแผนงาน/โครงการ มติ >>> การพัฒนาปรับปรุงคุณภาพงานก่อสร้าง........ เป้าหมาย ... องค์ความรู้ที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการน้ำ นำไปสู่การพัฒนาต่อยอด

การสรุปบทเรียนสู่แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติงาน สชป.๓ สรุป .... จัดทำรายงานสรุปบทเรียน ให้ครบประเด็นทั้ง 2 องค์ความรู้ จัดทำขั้นตอนการปฏิบัติงาน คณะทำงาน

หมวด 1 ประเด็นคำถาม คะแนน CKO สำนัก/กอง ประยุกต์ใช้การจัดการ 2 3 4 5 CKO สำนัก/กอง ประยุกต์ใช้การจัดการ ความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการและผู้มี ส่วนได้เสีย 1.10 แนวทางการตอบ CKO กำหนดให้มีการรับฟังความต้องการและความคิดเห็นรวมทั้ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย กิจกรรมการ ให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย CKO กำหนดให้มีการนำข้อมูลจากการรับฟังความต้องการและความ คิดเห็นที่ได้รับมาใช้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอย่างไร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 1.10 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 กำหนดให้มีการรับฟังความต้องการและความคิดเห็นรวมทั้ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย กิจกรรมการ ให้ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย และให้มีการนำข้อมูลจากการรับฟังความต้องการและความ คิดเห็นที่ได้รับมาใช้ เป็นแนวทางการจัดทำแผนสู่การปฏิบัติ ที่สามารถแจ้งเตือนเหตุที่มีผลกระทบได้ เช่น การทำนาปี นาปลัง นำไปสู่การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อชาวบ้าน ในพื้นที่โครงการน้ำยม-น่าน โดยผลสามารถดูได้จากเกิดการยอมรับที่ดีจากชาวบ้าน

หมวด 2

หมวด 2 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง นำผลการสรุปบทเรียน 2.1 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง นำผลการสรุปบทเรียน (จากข้อ 1.9) ตามภารกิจและแนวทางการ ปรับปรุงงานมาใช้เป็นข้อมูลสำคัญใน การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี (Action Plan) อย่างไร แนวทางการตอบ นำข้อมูลสำคัญจากการสรุปบทเรียนมาใช้ในการจัดทำแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนากระบวนงานโดยมีการกำหนดเป็นแผน การปรับปรุงเป็นแผนปฏิบัติการประจำปีของสำนัก/กองอย่างไร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 2.1 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 นำข้อมูลสำคัญจากการสรุปบทเรียนโครงข่ายน้ำยม-น่าน มาใช้ในการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนากระบวนงานโดยมีการกำหนดเป็นแผนการปรับปรุงเป็นแผนปฏิบัติการประจำปีของสำนัก/ (Action plan) Action plan ของสำนักฯที่ ส่งผลถึงตัวชี้วัด โดยในแบบฟอร์มต้องระบุถึง กิจกรรมหลัก รายละเอียดงาน/กิจกรรม ผลที่คาดหวัง ตัวชี้วัด ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ การติดตามผล ปริมาณงานในแต่ระยะเวลา เป็นต้น

หมวด 2 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ KM 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ KM ตามแนวทางที่กรมฯกำหนดต่อเนื่องทุกปี หรือไม่ (ตามแบบฟอร์ม 1 และ 2 ที่แนบ) 2.2 แนวทางการตอบ มีการบ่งชี้องค์ความรู้ที่สำคัญในการปฏิบัติงานที่สนับสนุนการบรรลุ ภารกิจของสำนัก/กอง ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ของกรม และระบุ เหตุผลในการคัดเลือกองค์ความรู้นั้น(ตามแบบฟอร์ม 1) มีการจัดทำแผน KM Action Plan ระดับสำนัก/กอง ตามกระบวนการ จัดการความรู้และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงครบถ้วนหรือไม่ (ตามแบบฟอร์ม 2 )

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 2.2 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 Action plan ของสำนักฯ จะส่งผลมาถึงการจัดทำแผนการจัดการความรู้ ตามแบบฟอร์มที่ 1 และ2 รวม 13 ขั้นตอนการดำเนินงาน (กรมฯอาจมีการเปลี่ยนแปลง ให้ดูตามที่ กรมฯกำหนดในแต่ละปี)

หมวด 2 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีวิธีการคัดเลือกองค์ความรู้ 2.3 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีวิธีการคัดเลือกองค์ความรู้ เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการ KM อย่างไร แนวทางการตอบ แนวทางการคัดเลือกและการจัดลำดับความสำคัญขององค์ความรู้ มาดำเนินการจัดทำแผนการจัดการความรู้

หมวด 2 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีการถ่ายทอดแผน KM 2.4 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการถ่ายทอดแผน KM สู่ผู้ปฏิบัติอย่างไร แนวทางการตอบ วิธีการถ่ายทอดแผนKM สู่ผู้ปฏิบัติ (ช่องทางการถ่ายทอด การถ่ายทอด สื่อสารครอบคลุม ทั่วถึงบุคลากรในสังกัดหรือไม่ บุคลากรในสังกัด เข้าใจแนวทางการดำเนินงานตามแผนไปในทิศทางที่ตรงกันหรือไม่ มีการดำเนินงานตามแผนเป็นไปตามเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่)

หมวด 2 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กองมีการสรุปผลการดำเนินการตาม 1 2 3 4 5 สำนัก/กองมีการสรุปผลการดำเนินการตาม แผน KM เมื่อสิ้นปีงบประมาณ โดยเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามแผน KM ที่กำหนดไว้อย่างไร (ตามที่กำหนดไว้ใน แบบฟอร์มที่ 1) 2.5 แนวทางการตอบ มีการติดตาม และสรุปผลการดำเนินงานตามแผน KM ว่าเป็นไปตาม แผนหรือไม่ มีการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานจริงกับตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมายตามแผน KM ที่กำหนดไว้ในแบบฟอร์มที่ 1 เพื่อประเมิน ประสิทธิผลความสำเร็จของตัวชี้วัดอย่างไร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 2.5 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 การติดตาม และสรุปผลการดำเนินงานตามแผน KM ให้ดูที่ค่าสถานะ ว่าสัมพันธ์หรือตรงกับการตอบที่ค่าเป้าหมายตามที่ตั้งไว้ในแผนหรือไม่

หมวด 3

หมวด 3 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีวิธีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียอย่างไร และมีวิธีการตรวจสอบอย่างไรให้แน่ใจว่าเป็นความต้องการที่แท้จริง 3.1 แนวทางการตอบ มีวิธีการสำรวจความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียของสำนัก/กองอย่างไร 2. มีวิธีการตรวจสอบว่าความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียที่ได้มาเป็นความต้องการที่แท้จริงอย่างไร

หมวด 3 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีช่องทางรับฟังข้อร้องเรียนของ 3.2 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีช่องทางรับฟังข้อร้องเรียนของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียอย่างไร เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน แนวทางการตอบ 1. ระบุช่องทางรับฟังข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย 2. ระบุความถี่ในรวบรวมข้อมูลจากการรับฟังข้อร้องเรียน มาทำการประมวลผล และวิเคราะห์เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน

หมวด 3 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง นำข้อมูล (ทั้งข้อร้องเรียนและ 3.3 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง นำข้อมูล (ทั้งข้อร้องเรียนและ ความต้องการ) จากผู้รับบริการและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง กระบวนการทำงานเพื่อให้บริการที่ดีขึ้น อย่างไร แนวทางการตอบ มีการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลข้อร้องเรียนและความต้องการจาก ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากำหนดแนวทางและขั้นตอนแก้ไข ข้อร้องเรียนหรือวิธีการตอบสนองความต้องการเพื่อการปรับปรุงการ กระบวนงานหรือการให้บริการให้ดีขึ้นอย่างไร

หมวด 3 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีการใช้ข้อมูลและความรู้ (จากข้อ 3.4 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการใช้ข้อมูลและความรู้ (จากข้อ 3.1 -3.3) จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสียอย่างไร แนวทางการตอบ ระบุกิจกรรมที่ใช้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีซึ่งเป็นผลมาจากการวิเคราะห์ข้อมูล ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย

หมวด 3 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง ประเมินความพึงพอใจ (พอใจ/ 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง ประเมินความพึงพอใจ (พอใจ/ ไม่พอใจ) ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอย่างไร 3.5 แนวทางการตอบ มีวิธีการประเมินความพึงพอใจ (พอใจ/ไม่พอใจ) ของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร การประเมินครอบคลุม ทั่วถึงกลุ่มผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือไม่

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 3.5 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 ผลการประเมิน ในระดับต่างๆเป็นอย่างไร ระดับการประเมินของสำนักฯ ได้เท่าไร มีข้อเสนอแนะอย่างไร หรือไม่

หมวด 3 ประเด็นคำถาม คะแนน ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้าถึง 1 2 3 4 5 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียสามารถเข้าถึง ข้อมูลสารสนเทศเพื่อรับบริการของ สำนัก/กองได้อย่างไร 3.6 แนวทางการตอบ 1. ช่องทางการเข้าถึงข้อมูลบริการของสำนัก/กองที่เปิดเผยได้ 2. จำนวนหรือความถี่ในการเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศที่จัดไว้ให้ 3. ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการข้อมูล สารสนเทศ โดยเฉพาะการเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวก

หมวด 4

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีวิธีการคัดเลือก รวบรวม 4.1 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีวิธีการคัดเลือก รวบรวม เชื่อมโยง และบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ เพื่อติดตามการปฏิบัติงานประจำวัน อย่างไร แนวทางการตอบ ระบุข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการติดตามการปฏิบัติงานประจำวัน ระบุวิธีการหรือกระบวนการคัดเลือก รวบรวม เชื่อมโยง และ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศเพื่อติดตามการปฏิบัติงานประจำวัน

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีการ update ข้อมูลที่จำเป็นใน 4.2 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการ update ข้อมูลที่จำเป็นใน เว็บไซด์และคลังความรู้ของสำนัก/กอง อย่างสม่ำเสมอ เพื่อใช้ในการสนับสนุนการ ปฏิบัติงานอย่างไร แนวทางการตอบ มีการทบทวน ตรวจสอบข้อมูล ความรู้ในเว็บไซด์และคลังความรู้ของสำนัก/กองว่ามีการเก็บ รวบรวมความรู้ที่จำเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงานไว้ครบถ้วนแล้วหรือไม่ มีการกำหนดแนวทางการ update ข้อมูล ความรู้ ความถี่ในการ update อย่างไร

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีการประมวลและกลั่นกรอง 4.3 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการประมวลและกลั่นกรอง ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ ขององค์ความรู้ที่จัดเก็บ ในเว็บไซต์และ คลังความรู้ของสำนัก/กองอย่างไร แนวทางการตอบ มีการกำหนดวิธีการและผู้รับผิดชอบในการกลั่นกรองข้อมูลขึ้นเว็บไซด์ และคลังความรู้ไว้อย่างไร

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง มีการพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์ 4.4 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์ คลังความรู้ของสำนัก/กอง ( โดยมีข้อมูล พื้นฐานตามแบบฟอร์มที่ 3) หรือไม่ แนวทางการตอบ มีการพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์คลังความรู้ของสำนัก/กองให้มีข้อมูล พื้นฐานตามแบบฟอร์มที่ 3 ครบถ้วนหรือไม่

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กองรวบรวมและถ่ายโอนความรู้จาก 1 2 3 4 5 สำนัก/กองรวบรวมและถ่ายโอนความรู้จาก บุคลากรในสังกัดอย่างไร 4.5 แนวทางการตอบ ระบุวิธีการหรือกระบวนการรวบรวม และถ่ายโอนความรู้จากบุคลากรในสังกัด ยกตัวอย่างประเภทและรายการความรู้ที่รวบรวมได้จากบุคลากรที่แสดงในคลังความรู้

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กองรวบรวมและถ่ายโอนความรู้ 4.6 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กองรวบรวมและถ่ายโอนความรู้ จากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่างไร แนวทางการตอบ ระบุวิธีการหรือกระบวนการรวบรวม และถ่ายโอนความรู้จากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ยกตัวอย่างประเภทและรายการความรู้ที่รวบรวมได้จากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่แสดงในคลังความรู้

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 4.6 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 ยกตัวอย่างที่เคยทำของโครงการส่งน้ำฯยม-น่าน

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ ภายในสำนัก/กองและแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ (Best Practice) ข้ามหน่วยงาน อย่างไร 4.7 แนวทางการตอบ 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับสำนัก/กองหรือหน่วยงานอื่นๆ 2. องค์ความรู้ที่ได้จากกิจกรรม

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน แนวทางการตอบ 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการวัดผลตัวชี้วัดที่สำคัญเพื่อ ประเมินผลความสำเร็จตามแผนการจัดการ ความรู้ (ตัวชี้วัดที่สำคัญตามที่กรมกำหนด ได้แก่,ความถูกต้อง ครบถ้วน และกรอบเวลา ในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ประจำปี, การเลือกองค์ความรู้เพื่อจัดการความรู้ 2 องค์ ความรู้ , ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผน อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี, วัดผลการดำเนินการ ตามแผน KM) 4.8 แนวทางการตอบ รายงานผลการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ประจำปี

หมวด 4 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง ประเมินว่า KM ของหน่วยงานมีความก้าวหน้าอยู่ในระดับใด ระดับ 1 คือ ยังไม่มีแนวทางชัดเจน 2 คือ เริ่มมีแนวทาง ยังต้องปรับปรุง 3 คือ มีแนวทางค่อนข้างชัดเจน ปฏิบัติ ต่อเนื่อง 4 คือ มีแนวทางที่ดี สามารถดำเนินการได้ ราบรื่น 5 คือ สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่อง เป็นระบบ เกิดการพัฒนานวัตกรรมสม่ำเสมอ 4.9 แนวทางการตอบ ผลการประเมิน

หมวด 5

หมวด 5 5.1 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 มีการกำหนดหน่วยงานหรือทีมงาน เพื่อรับผิดชอบการดำเนินการ KM อย่างชัดเจนหรือไม่ แนวทางการตอบ ระบุองค์ประกอบและหน้าที่ความรับผิดชอบของทีมงานจัดการความรู้ของสำนัก/กอง ระบุว่ามีการมอบหมายงาน KM ตามแผนให้ผู้รับผิดชอบอย่างไร

หมวด 5 5.2 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง สนับสนุน จูงใจให้บุคลากร เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม KM อย่างไร แนวทางการตอบ ระบุวิธีการหรือแนวทางในการสนับสนุน สร้างแรงจูงใจให้ บุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรม KM ของสำนัก/กอง

หมวด 5 5.3 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 บุคลากรของสำนัก/กอง มีความรู้ด้าน KM อยู่ในระดับใด (ประเมินจากการประเมินบุคลากรในสำนัก/กอง) แนวทางการตอบ ระบุผลการประเมินความรู้ด้าน KM จากแบบทดสอบ

หมวด 5 5.4 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีการนำผลการประกวดตาม โครงการ KM AWARD ไปประกอบการ ประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปี อย่างเป็นรูปธรรมอย่างไร แนวทางการตอบ ระบุรายชื่อบุคลากรที่ได้รับรางวัลตามโครงการ KM Award ที่ได้รับ การพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติราชการเพิ่มเติมจากปกติ

หมวด 5 5.5 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีวิธีการส่งเสริมการใช้ความรู้ และทักษะใหม่ๆในการทำงานและเก็บ รักษาความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน อย่างยั่งยืนอย่างไร 5.5 แนวทางการตอบ 1. ระบุวิธีการหรือกระบวนการส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ๆใน การทำงานเพื่อใช้ประโยชน์ เช่น กำหนดให้ผู้บังคับบัญชามอบหมาย และติดตามให้ผู้ที่เข้ารับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ นำความรู้มา ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาปรับปรุงงาน 2. ระบุวิธีการหรือกระบวนการเก็บรักษาความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ในสำนัก/ กอง (ทั้งการเก็บรักษาความรู้ที่เห็นชัดแจ้งและความรู้ฝังลึกในตัวคน)

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 4.6 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 ตัวอย่าง เช่น การสอนงาน คู่มือการปฏิบัติงานต่างๆ

หมวด 5 5.6 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง มีวิธีการถ่ายโอนความรู้จาก บุคลากรที่เกษียณอายุราชการ ย้าย หรือ ลาออกจากสำนัก/กองไป เพื่อเก็บรักษา ไว้กับหน่วยงาน แนวทางการตอบ ระบุวิธีการถ่ายโอนความรู้จากเกษียณอายุราชการ ย้าย หรือ ลาออกจากสำนัก/กองไป เพื่อเก็บรักษาไว้กับหน่วยงาน ยกตัวอย่าง องค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายโอนไว้ที่แสดงในคลังความรู้

หมวด 5 5.7 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 การจัดการความรู้ของสำนัก/กองมีผลต่อ ความผาสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจ ของบุคลากรอย่างไร แนวทางการตอบ การประเมินความผาสุก ความพึงพอใจและแรงจูงใจจาก การจัดการของสำนัก/กองความรู้อย่างไร ดูจากปัจจัยอะไรที่สะท้อน ว่าการจัดการความรู้ในสำนัก/กองส่งผลถึงความผาสุก ความพึง พอใจและแรงจูงใจของบุคลากร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 4.6 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 ต้องทำผลสำรวจ ในแต่ละกิจกรรมว่า OK ในระดับไหน

หมวด 6

หมวด 6 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กองใช้ KM เพื่อปรับปรุงกระบวนงาน 6.1 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กองใช้ KM เพื่อปรับปรุงกระบวนงาน หลักของสำนัก/กองอย่างไร แนวทางการตอบ ระบุว่าใช้กิจกรรม KM อะไรที่ส่งผลต่อการปรับปรุงกระบวนงานหลักของสำนัก/กอง ยกตัวอย่างว่าส่งผลอย่างไร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 6.1 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 ต้องทำเป็นคู่มือออกมา

หมวด 6 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง ใช้ KM เชื่อมโยงเครื่องมือ 6.2 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง ใช้ KM เชื่อมโยงเครื่องมือ การปรับปรุงคุณภาพงานอื่น ๆ อย่างไร แนวทางการตอบ ระบุว่านอกจาก เครื่องมือKM แล้ว สำนัก/กองใช้เครื่องมือในการบริหาร อื่น ๆ อะไรบ้างที่ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพงาน และ ใช้ กิจกรรม KM มาบูรณาการกับการใช้เครื่องมือนั้นๆอย่างไร

แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 หมวด 1 6.2 แนวทางการตอบและการปฏิบัติ ปี 2558 ใช้เครื่องมือ การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน มาเชื่อมโยงกับเครื่องมือ KM เช่น KS knowledge shearing

หมวด 6 ประเด็นคำถาม คะแนน สำนัก/กอง ใช้ KM ในการปรับปรุง 6.3 ประเด็นคำถาม คะแนน 1 2 3 4 5 สำนัก/กอง ใช้ KM ในการปรับปรุง กระบวนการสนับสนุนอย่างไร แนวทางการตอบ ระบุว่าใช้กิจกรรม KM อะไรที่ส่งผลต่อการปรับปรุงกระบวนงานสนับสนุนของสำนัก/กอง ยกตัวอย่างว่าส่งผลอย่างไร

คำถามหลักของการถอดบทเรียน What หัวข้อเรื่องที่จะถอดบทเรียน Why เหตุผลที่ต้องมีการถอดบทเรียน(ปัญหาที่เกิดขึ้น) How ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างไร Who ใครคือผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินการ Where หน่วยงาน/เขตพื้นที่/สถานที่การดำเนินการ When ระยะเวลาในการดำเนินการ 5W+1H

คำถามหลักการถอดบทเรียน เพื่อจัดทำแผนปี 2558

1.สิ่งที่สำนัก/โครงการทำได้ดี ในปี ที่ผ่านมา (ภายในสำนัก/โครงการ)

2.อยากจะต่อยอด เพื่อให้ดีกว่าเดิม อย่างไร (ภายในสำนัก/โครงการ)

3.สิ่งที่สำนัก/โครงการทำได้ดี ในปี ที่ผ่านมา (ภายนอกสำนัก/ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย)

4.อยากจะต่อยอด เพื่อให้ดีกว่าเดิม อย่างไร (ภายนอกสำนัก/ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย)

5.สิ่งที่สำนัก/โครงการ อยากปรับปรุง แก้ไขจากที่ผ่านมา (ภายในสำนัก/โครงการ)

6.อยากจะปรับปรุงอย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร (ภายในสำนัก/โครงการ)

7.สิ่งที่สำนัก/โครงการ อยากปรับปรุง แก้ไขที่ผ่านมา (ภายนอกสำนัก/ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย)

8.อยากจะแก้ไข ปรับปรุง อย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร (ภายนอกสำนัก/ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย)