โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
การพัฒนา งานวิจัย สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
การรายงานผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
ณ วันที่ 30 มิถุนายน ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำปาง.
นายโอฬาร พิทักษ์ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน ปี ๒๕๕๔
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ลานเทปาล์มน้ำมัน ตำบลนาเหนือ
สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ที่ 2 ร้อยละของจำนวนเกษตรกรเป้าหมาย ผ่านการเตรียมความพร้อม ( ถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการ โรงเรียนเกษตรกร ประจำปี 2551) จังหวัดระนอง.
ณ 31 พฤษภาคม
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
คำสั่งกรมส่งเสริมการเกษตร
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การจัดการความรู้ KM.
ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว
กิจกรร ม 1 กิจกรร ม 3 กิจกรร ม 2 ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมแผนผลร้อยละ 1. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจ.
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
โดย ศรีสุดา เตชะสาน ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมพืชน้ำมัน และพืชตระกูลถั่ว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้า เกษตร.
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลป่าสัก อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย สุนทร วิเลิศสัก เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
รายงานผลการปฏิบัติงาน เดือนมกราคม 2559
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
กลุ่มยุทธศาสตร์ฯ ตัวชี้วัด ของปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ ๑/๒๕๖๑ และ รอบที่ ๒/๒๕๖๑ จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ๑.๑ร้อยละความสำเร็จในการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการเพิ่มศักยภาพด้านการตลาดผลิตภัณฑ์ไหมนครชัยบุรินทร์ในกลุ่มอาเซียน
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
จัดทำคู่มือโครงการฯ ก.ย.-ต.ค.61 ประชุมเตรียมการจัด RW ต.ค.61 / มิ.ย.62
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
โครงการประจำปีงบประมาณ 2559
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การดำเนินงานต่อไป.
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 โดย นางสุนิสา ประไพตระกูล กลุ่มคุณภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

2.ประเมินสถานการณ์ การดำเนินงาน (ก.) ที่มา...การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน ปี 2558 ประเทศสมาชิก 10 ประเทศต้องใช้มาตรฐานการผลิตเดียวกัน โครงการเตรียมความพร้อมสินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่และเกษตรกรมีความพร้อมในเวทีประชาคมอาเซียน เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานอาเซียน (ASEAN GAP) สามารถรักษาฐานการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรไทยคุณภาพดีในระดับอาเซียน เป้าหมาย 77 จังหวัด เกษตรกร 6,200 ราย กิจกรรมสนับสนุน 1.พัฒนาเจ้าหน้าที่ 130 คน (ก.) 2.ประเมินสถานการณ์ การดำเนินงาน (ก.) กิจกรรมหลัก พัฒนาเกษตรกรสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 2,320 คน (58 จ.ๆ ละ 40 คน รวม ) กิจกรรมหลัก เตรียมความพร้อมและพัฒนาสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 3,880 คน (77 จ.ๆ ละ 50-60 คน ) กิจกรรมหลัก พัฒนากลุ่มนำร่อง ผู้ผลิตสินค้าเกษตรสู่อาเซียน 8 กลุ่ม (ผู้ปลูก ทุเรียน มังคุด มะม่วง ลำไย และกล้วยไม้) Out put เกษตรกร 6,200 ราย ได้รับความรู้และการเตรียมความพร้อมให้เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP Out come เกษตรกรมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 13/04/60

ที่มา/ความสำคัญของโครงการ 1. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 สมาชิก 10 ประเทศ ต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน 2. นโยบายกระทรวงเกษตรฯ การเตรียม ความพร้อม ของภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน 3. สินค้าเกษตรมีการแข่งขันสูง มีการ กีดกันทางการค้า ที่ไม่ใช่ภาษี จำเป็นต้องมี มาตรฐานรองรับ 4. สนับสนุนความปลอดภัยด้านอาหาร พัฒนาชีวิตเกษตรกร และรักษาสิ่งแวดล้อม

วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่และเกษตรกรให้มีความพร้อม ในเวทีประชาคมอาเซียน เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ASEAN GAP (มกษ. 9001-2556) เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน ASEAN GAP สามารถรักษาฐานการผลิตและการตลาดสินค้า เกษตรไทยคุณภาพดีในระดับอาเซียน 13/04/60

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 พัฒนาเกษตรกรสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 2,320 คน (ผู้ผลิตทุเรียน มังคุด ลำไย มะม่วง 58 จังหวัดๆละ 40 คน จังหวัดที่เคยดำเนินงานในปี 2557 ) การเตรียมความพร้อมและพัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP จำนวน 3,880 คน (อบรมเกษตรกร 77 จังหวัดๆ ละ 50-60 คน)

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 3. พัฒนากลุ่มนำร่องผู้ผลิตสินค้าเกษตรสู่อาเซียน (กลุ่มนำร่องผู้ผลิต ไม้ผล 4 ชนิด ทุเรียน มังคุด ลำไย มะม่วง 7 กลุ่ม และกล้วยไม้ 1 กลุ่ม) 1. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 ราชบุรี กล้วยไม้ 2. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 ระยอง ไม้ผล 3. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 ขอนแก่น ไม้ผล 4. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 สงขลา ไม้ผล 5. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 เชียงใหม่ ไม้ผล 6. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 นครราชสีมา ไม้ผล 7. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 สุราษฎร์ธานี ไม้ผล 8. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 9 พิษณุโลก ไม้ผล

กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 4. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อม เจ้าหน้าที่เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP (ส่วนกลาง) 5. ประเมินสถานการณ์การดำเนินงานเตรียมความพร้อม เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP (ส่วนกลาง)

ตัวชี้วัดโครงการ ผลผลิต ผลลัพท์ - เกษตรกร จำนวน 6,200 ราย ได้รับความรู้และ เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ASEAN GAP ผลลัพท์ - เกษตรกรมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

ขอบคุณค่ะ