โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 โครงการเตรียมความพร้อม สินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 โดย นางสุนิสา ประไพตระกูล กลุ่มคุณภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
2.ประเมินสถานการณ์ การดำเนินงาน (ก.) ที่มา...การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนใน ปี 2558 ประเทศสมาชิก 10 ประเทศต้องใช้มาตรฐานการผลิตเดียวกัน โครงการเตรียมความพร้อมสินค้าเกษตรไทย ก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ เพื่อให้เจ้าหน้าที่และเกษตรกรมีความพร้อมในเวทีประชาคมอาเซียน เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานอาเซียน (ASEAN GAP) สามารถรักษาฐานการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรไทยคุณภาพดีในระดับอาเซียน เป้าหมาย 77 จังหวัด เกษตรกร 6,200 ราย กิจกรรมสนับสนุน 1.พัฒนาเจ้าหน้าที่ 130 คน (ก.) 2.ประเมินสถานการณ์ การดำเนินงาน (ก.) กิจกรรมหลัก พัฒนาเกษตรกรสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 2,320 คน (58 จ.ๆ ละ 40 คน รวม ) กิจกรรมหลัก เตรียมความพร้อมและพัฒนาสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 3,880 คน (77 จ.ๆ ละ 50-60 คน ) กิจกรรมหลัก พัฒนากลุ่มนำร่อง ผู้ผลิตสินค้าเกษตรสู่อาเซียน 8 กลุ่ม (ผู้ปลูก ทุเรียน มังคุด มะม่วง ลำไย และกล้วยไม้) Out put เกษตรกร 6,200 ราย ได้รับความรู้และการเตรียมความพร้อมให้เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP Out come เกษตรกรมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 13/04/60
ที่มา/ความสำคัญของโครงการ 1. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 สมาชิก 10 ประเทศ ต้องใช้มาตรฐานเดียวกัน 2. นโยบายกระทรวงเกษตรฯ การเตรียม ความพร้อม ของภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน 3. สินค้าเกษตรมีการแข่งขันสูง มีการ กีดกันทางการค้า ที่ไม่ใช่ภาษี จำเป็นต้องมี มาตรฐานรองรับ 4. สนับสนุนความปลอดภัยด้านอาหาร พัฒนาชีวิตเกษตรกร และรักษาสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์โครงการ เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่และเกษตรกรให้มีความพร้อม ในเวทีประชาคมอาเซียน เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง ASEAN GAP (มกษ. 9001-2556) เกษตรกรสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน ASEAN GAP สามารถรักษาฐานการผลิตและการตลาดสินค้า เกษตรไทยคุณภาพดีในระดับอาเซียน 13/04/60
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 พัฒนาเกษตรกรสู่มาตรฐาน ASEAN GAP 2,320 คน (ผู้ผลิตทุเรียน มังคุด ลำไย มะม่วง 58 จังหวัดๆละ 40 คน จังหวัดที่เคยดำเนินงานในปี 2557 ) การเตรียมความพร้อมและพัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP จำนวน 3,880 คน (อบรมเกษตรกร 77 จังหวัดๆ ละ 50-60 คน)
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 3. พัฒนากลุ่มนำร่องผู้ผลิตสินค้าเกษตรสู่อาเซียน (กลุ่มนำร่องผู้ผลิต ไม้ผล 4 ชนิด ทุเรียน มังคุด ลำไย มะม่วง 7 กลุ่ม และกล้วยไม้ 1 กลุ่ม) 1. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 ราชบุรี กล้วยไม้ 2. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 ระยอง ไม้ผล 3. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 4 ขอนแก่น ไม้ผล 4. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 สงขลา ไม้ผล 5. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 เชียงใหม่ ไม้ผล 6. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 7 นครราชสีมา ไม้ผล 7. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 8 สุราษฎร์ธานี ไม้ผล 8. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 9 พิษณุโลก ไม้ผล
กิจกรรม ปีงบประมาณ 2558 4. จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อม เจ้าหน้าที่เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP (ส่วนกลาง) 5. ประเมินสถานการณ์การดำเนินงานเตรียมความพร้อม เข้าสู่มาตรฐาน ASEAN GAP (ส่วนกลาง)
ตัวชี้วัดโครงการ ผลผลิต ผลลัพท์ - เกษตรกร จำนวน 6,200 ราย ได้รับความรู้และ เตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ระบบมาตรฐาน ASEAN GAP ผลลัพท์ - เกษตรกรมีการปรับตัวและเตรียมความพร้อมต่อการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ขอบคุณค่ะ