System Requirement Collection (2) Start Sanchai Yeewiyom School of Information & Communication Technology University of Phayao Next
การเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ และนำมาวิเคราะห์ วัตถุประสงค์ เพื่อให้สามารถกำหนดขนาดตัวอย่างแทนประชากร ทั้งหมดได้ เพื่อให้สามารถวางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล Back Start Next
การกำหนดขนาดตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่าง การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง Back Next
ขั้นตอนที่ใช้ในการออกแบบเพื่อให้ได้ตัวอย่างที่ดี การเลือกคุณลักษณะของข้อมูลที่จะเป็นตัวอย่าง การกำหนดกลุ่มประชากรที่จะสุ่มตัวอย่าง การเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง การสุ่มตัวอย่างที่คำนึงถึงความสะดวกเป็นหลัก การสุ่มตัวอย่างที่มีการเลือกกลุ่มเป้าหมาย การสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีที่ง่าย การสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีที่ซับซ้อน การสุ่มแบบสมมาตร การสุ่มตามความเหมาะสม การสุ่มตามกลุ่ม การกำหนดขนาดตัวอย่าง Back Next
การวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล การระบุถึงที่มาและชนิดของข้อมูล ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการของโครงการ การระบุถึงวิธีการที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล แผนการดำเนินการภายในขอบข่ายกว้างขวางและลึกซึ้งเพียงใด ภายใต้ข้อจำกัดในด้านงบประมาณและเวลาอย่างไร กำหนดตารางการทำงานในแต่ละขั้นตอนโดยอาจใช้ผังแกนท์หรือแผนภาพเพิร์ธ Back Next
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลโดยการสำรวจ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การเก็บข้อมูลโดยสำรวจทางไปรษณีย์ การสำรวจข้อมูลทางโทรศัพท์ การสำรวจข้อมูลด้วย แบบสอบถาม etc. Back Next
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลโดยการสังเกต การเก็บข้อมูลโดยการทดลอง การทดสอบว่าเมื่อนำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการขาย สินค้ามีผลกระทบต่อยอดขายอย่างไร การทดสอบการใช้ระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการพิมพ์รายงาน สรุปการขายจะมีผลในการเพิ่มยอดขายสินค้า หรือไม่อย่างไร การวัดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานขาย เมื่อเปลี่ยนระบบ การขาย โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ การทดสอบการยอมรับ ในการนำระบบคอมพิวเตอร์มา บริการลูกค้า Back Next
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลโดยการทดลอง คุณสมบัติของพนักงานเก็บข้อมูล 1.เพศ 2.อายุ 3.ความรู้เฉพาะสาขาวิชา 4.มีความละเอียดถี่ถ้วนในการทำงาน 5.บุคลิกภาพ 6.ความซื่อสัตย์ 7.สติปัญญาความเฉลียวฉลาด 8.มีความเต็มใจในการปฏิบัติงานนอกสถานที่ 9.สามารถปรับตัวและปฏิบัติตามคำแนะนำได้ถูกต้อง Back Next
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลโดยใช้ตารางบันทึก การบันทึกข้อมูลที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย คือ ตารางบันทึกข้อมูลด้วยมือ โดยมีอุปกรณ์สำคัญ คือ การใช้แรงงาน ตารางบันทึกข้อมูล เครื่องคำนวณ เครื่องเขียน วิธีการ คือ การอ่านข้อมูลทีละรายการในแบบฟอร์ม แล้วถ่ายทอดลงในตารางที่สร้างเตรียมไว้ โดยวิธีการที่เรียกว่า การแจงนับ แจกแจงตามคุณลักษณะ แล้วนับความถี่ของข้อมูล เพื่อป้องกันการลืมและสับสนในการแจงนับจึงใช้วิธีการทำรอบขีด กลุ่มละ 5 ขีด ดังตารางหน้าถัดไป Back Next
ตารางการแจกแจงความถี่จากแบบสอบถามการประมวลผลข้อมูลด้วยมือ ชั้นคะแนน รอยความถี่ หรือรอยขีด ความถี่ เพศ -ชาย -หญิง //// //// / //// //// //// 11 30 ช่วงอายุ 17-20 21-30 31-41 41-50 //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// //// /// 60 74 83 Back Next
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การบันทึกข้อมูลโดยใช้ตารางบันทึก การสร้างตารางแจงนับ เพื่อกำหนดคุณลักษณะตัวแปรลงในตาราง ก่อนที่จะจัดข้อมูลแยกประเภทลงในตารางต้องสร้างตารางขึ้นก่อน ผู้วิเคราะห์จะต้องกำหนดตัวแปรให้แน่นอนและชัดเจน โดยการจำแนกตัวแปรออกได้ 3 ประเภทคือ 1. ตัวแปรอิสระ 2. ตัวแปรตาม 3. ตัวแปรควบคุม Back Next
การลงรหัส เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ กรณีศึกษา Back Next
การจัดทำคู่มือการลงรหัส คู่มือการลงรหัสควรประกอบด้วยรายการดังต่อไปนี้ เลขที่ข้อคำถาม ชื่อตัวแปร ตำแหน่งข้อมูล รายการของข้อมูล ค่าที่เป็นไปได้ Back Next
การจัดเตรียมข้อมูลสำหรับการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ การลงรหัสโดยการคัดลอกลงในแบบฟอร์มมาตรฐาน การลงรหัสในแบบสอบถามหรือแบบสัมภาษณ์ หรือแบบสังเกต Back Next
ตารางลงรหัสเพื่อวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel No Q1 Q2 Q3 Q4 Q5 Q6 Q7 001 002 003 004 005 006 007 008 009 010 011 012 Back Next
ตารางลงรหัสเมื่อบันทึกเข้าไปในโปรแกรม Microsoft Excel Back Next
สรุป การเก็บรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ ต้องมีขั้นตอนการดำเนินการ 8 ขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนต้องสัมพันธ์กันและต้องได้ข้อมูลที่สามารถนำมาวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ ในรูปของระบบคอมพิวเตอร์ได้ และหลังจากเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยจะต้องนำข้อมูลที่ได้นั้นมาวิเคราะห์ โดยอาจใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการวิเคราะห์ เช่น Microsoft Excel Back End