วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
เศรษฐกิจพอเพียง.
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
วิสัยทัศน์ สหกรณ์และสถาบันเกษตรกร มีความเข้มแข็ง เป็นพลังในการพัฒนาประเทศ และสมาชิกอยู่ในสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
การพัฒนานวัตกรรมแนวปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดำริ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.ฐิติพร เลาหสูต.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
เด็กชายคณนาถ ศรีรัตนสุภานนท์
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
รูปแบบแผนชุมชน.
วิสัยทัศน์ Vision สหกรณ์ที่มีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อม นำพาคนสหกรณ์มีความสุข.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
พ่อของแผ่นดิน.
การเงินส่วนบุคคลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นางฐานิตา ทองศิริ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.

ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ทักษะพัฒนาการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการภาษีอากรเรื่องการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมโดยใช้ชุดสอนซ่อมเสริมของนักศึกษาชั้นปีที่
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์ – เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เศรษฐกิจพอเพียง.
เรื่อง การใช้เกมพัฒนาทักษะการเขียนคำภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้น ปวช
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
***นำเสนอผลงานวิจัย***
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ในแผนกการจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ปีการศึกษา 2555

นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ชื่อเรื่องวิจัย ผู้วิจัย นางเพียรทอง อุ่นบุญธรรม
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การพัฒนาความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ของนักศึกษาระดับ ปวช.2 แผนกการบัญชีและการขายโดยการ ใช้กระบวนเรียนรู้แบบภาคสนาม ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพจณีย์ สะอาด สังกัด : โรงเรียนฐานเทคโนโลยี

ปัญหาของการวิจัย วิทยาศาสตร์มีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบัน และอนาคต อาจจะกล่าวได้ว่าเราตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้นับตั้งแต่เกิดไปจนแก่เจ็บกระทั่งตาย ปัจจุบันกระแสโลกาภิวัตน์นำทั้งสิ่งที่ดีและสิ่งที่ไม่ดี มากระทบความเป็นไทยของเรากับชีวิตของเรา ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงรับสั่งว่า ทรงเน้นแนวทางแก้ไขที่สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์เราต้องมีภูมิคุ้มกันครอบครัวเราเหมือนกันเพื่อให้เป็นครอบครัวที่มั่นคง อบอุ่น รายได้พอเพียง

ปัญหาของการวิจัย (ต่อ) แนวทางของการพัฒนาที่ยั่งยืน การที่นักศึกษา จะได้รับการปลูกฝังสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นกับตัวเอง จำเป็นต้อง ได้สัมผัสกับสภาพธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมพร้อมทั้งวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจถึงผลกระทบที่จะ เกิดขึ้นต่อระบบนิเวศต่อมนุษย์ทั้งในทางบวกและทางลบดังนั้น การจัดกิจกรรมศึกษาเรียนรู้แบบภาคสนาม จึงจัดได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะสามารถพัฒนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ มีลักษณะนิสัย เสริมสร้างจิตสำนึกให้เกิด การเรียนรู้ในวิถีทางที่ถูกต้องและสามารถดำรงตนอยู่ได้ อย่างปกติสุข

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาความเข้าใจในการจัดกาทรัพยากรธรรมชาติหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้กระบวนการเรียนรูภาคสนาม 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ภาคสนาม 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้โดย ใช้กิจกรรมการเรียนรู้ภาคสนามมาใช้เพื่อพัฒนาความเข้าใจใน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ย ( 𝑿 ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ของคะแนนความรู้ความเข้าใจในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก่อนและหลังการใช้กระบวนการเรียนรู้แบบภาคสนาม จากตารางพบว่า นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูงขึ้น โดยมีคะแนนพัฒนาการที่วัดจากร้อยละของการเปลี่ยนแปลง เท่ากับ 38.00

ตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบภาคสนาม ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านท่าเสา

ตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบภาคสนาม ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านท่าเสา (ต่อ)

สรุปผลของการวิจัย พบว่า สรุปผลของการวิจัย พบว่า 1. นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความเข้าใจในความรู้เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลังได้รับการพัฒนาความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคะแนนสูงกว่าก่อนได้รับการพัฒนาความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมีค่าคะแนนพัฒนาการด้านความรู้ความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงร้อยละ 38.00 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยอย่างมีนัยสำคัญ 0.01

สรุปผลของการวิจัย พบว่า สรุปผลของการวิจัย พบว่า 2. นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในอยู่ในระดับมากทุกด้านและมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 3 รายการ ได้แก่ ความรู้ที่ได้รับจากการทัศนศึกษาในการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนและในชีวิตประจำวันมากที่สุด ( 𝒙 = 4.87) รองลงมา คือ การเกิดความสุขและสัมพันธ์ที่ดีจากการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นนอกห้องเรียน ( 𝒙 = 4.80) และการดูแลเอาใจใส่ของครูในการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม ( 𝒙 = 4.67)