DentIIS Dental Implant Information System ระบบสารสนเทศทันตกรรมรากฟันเทียม ชลนภา อนุกูล สิงหาคม ๒๕๕๐.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน้าที่ความรับผิดชอบ
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
สถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา มูลนิธิเด็ก (Information Technology Institute for Education - ITIE) เดือนมกราคม - เดือนธันวาคม ๒๕๔๘.
ผลการดำเนินงาน กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ถุงเงิน ถุงทอง.
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ระบบจัดการครุภัณฑ์ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
ผู้ใช้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การจัดการองค์ความรู้ การจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์สารสนเทศ.
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การติดตาม และประเมินโครงการ.
โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพการศึกษา
และข้อมูลระดับภาควิชา (SAR – II)
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
วิชา สัมมนาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ Seminar in Computer Information System รหัส หน่วยกิต.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
แนวทางปฏิบัติและการเตรียมความพร้อม การถ่ายโอนภารกิจ
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. การพัฒนาระบบสารสนเทศ
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 1.
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
 จัดเก็บ บริหาร บันทึกการ ฝึกอบรม ความต้องการ การฝึกอบรม การวางแผนการ ฝึกอบรม การมอบหมาย งาน   บริหารจัดการบันทึก สภาพแวดล้อมทั้ง  อุณหภูมิ ความชื้น.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ชุมชนนักปฏิบัติ (CoPs)
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ

ประสบการณ์รพศ.อุดรธานี ในการเตรียมรับการประเมิน
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
๖. การเยี่ยมเยียน การ เรียนรู้ นิเทศ ติดตาม ๗. มีระบบสนับสนุน ๘. ระบบการส่งต่อ ๙. ระบบสารสนเทศ เก็บ รวบรวมข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล ๑๐. นำไปสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการค่าย เพื่อให้เกิดความสะดวก มี ความพร้อม ไม่เกิดความเสี่ยง ต่างๆ และเพื่อให้การดำเนินค่ายบรรลุ เป้าหมายที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ.
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
Toward the New Support System: DentIIS ระบบสารสนเทศสนับสนุนการดำเนินงานโครงการรากฟันเทียมฯ ชลนภา อนุกูล พฤศจิกายน ๒๕๕๐.
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

DentIIS Dental Implant Information System ระบบสารสนเทศทันตกรรมรากฟันเทียม ชลนภา อนุกูล สิงหาคม ๒๕๕๐

ความก้าวหน้า เม.ย. – ก.ค. ๕๐ ส.ค. – พ.ย. ๕๐ ธ.ค. ๕๐ – ก.พ. ๕๑ ศึกษาปัญหาและกำหนดขอบเขตการทำงาน วิเคราะห์ระบบ ออกแบบระบบ พัฒนาระบบ ทดสอบ จัดเตรียมระบบสู่การใช้งานจริง ส่งมอบงาน Conversion Plan รวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้ ประเมินผลความพอใจ

รายงานความก้าวหน้า

สถานะปัจจุบัน DentIIS - ระบบสารสนเทศทันตกรรมรากเทียมเริ่มใช้งานได้ สามารถใช้งานระบบผ่านเว็บ/อินเทอร์เนตได้ ทันตแพทย์จากหน่วยงานนำร่อง ๗ แห่ง แห่งละ ๒ คน รวม ๑๔ คน มีบัญชีผู้ใช้สำหรับเข้าใช้งานระบบแล้ว ผู้ดูแลระบบประจำสถานบริการสามารถแจกบัญชีผู้ใช้ให้เจ้าหน้าที่อื่นได้ ถ่ายโอนข้อมูลผู้ป่วยโครงการฟันเทียมฯ ราว ๖ หมื่นรายเข้าสู่ระบบแล้ว บันทึกข้อมูลเวชระเบียนได้ จัดการพัสดุและรากฟันเทียมได้

ความก้าวหน้า ระบบงานย่อยที่พัฒนาเสร็จสิ้นแล้ว เอกสารประกอบ ระบบงานจัดการสถานบริการ ระบบงานจัดการผู้ใช้ ระบบงานพัสดุ ระบบงานเวชระเบียน เอกสารประกอบ คู่มือการใช้งาน สไลด์สอนการใช้งาน ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ได้รับเอกสาร “แบบบันทึกข้อมูลผู้ป่วย” สำหรับโครงการนำร่องรากฟันเทียมฯ ฉบับสมบูรณ์

แผนงานบริการสนับสนุน การดูแลรักษาระบบ แผนการสำรอง/กู้คืนข้อมูล การให้คำปรึกษา ผ่านอีเมล์ 24/7 พื้นที่ในเว็บบอร์ด การเรียนรู้ผ่านเอกสารคู่มือ การอบรมผู้ใช้งาน สไลด์การสอนแบบออนไลน์ ผ่านกิจกรรม

ขาดผู้ประสานงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการดำเนินการโครงการ (Business Rule) และความต้องการระบบ (User Requirement) ไม่ชัดเจน มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยครั้ง ติดตามผลการดำเนินงาน และใช้วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลจากการประชุมและการสังเกตการณ์ ผู้ใช้ไม่เข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงความต้องการระบบมีผลกระทบกับการดำเนินงานมาก ชี้แจง เพื่อทำความเข้าใจ ขาดผู้ประสานงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ DentIIS Version 1.0 Alpha

แผนการดำเนินงานลำดับถัดไป สิงหาคม ๒๕๕๐ – มกราคม ๒๕๕๑ เป้าหมายในการดำเนินการลำดับต่อมา Conversion and Migration Plan ผู้บริหารกำหนดนโยบายในการเก็บข้อมูลการรักษาในรูปแบบดิจิตัล ประชาสัมพันธ์แนะนำการใช้ระบบผ่านอินเทอร์เนต ผ่านกิจกรรมอื่นๆ ในโครงการฯ รวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้ในระหว่างนำร่อง ประเมินผลความพอใจในการใช้งาน ปรับปรุงและพัฒนาระบบงานย่อยเพิ่มเติม