ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจ พอเพียง.
Advertisements

๓ ไม่ ๒ มี Road map หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๒๕๕๕ ขั้นที่ ๔
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การจัดทำโครงการเฉลิมพระเกียรติ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผลิตสินค้าและบริการ.
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์ ผลงาน ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2552.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
กิจกรรมขับเคลื่อน “ วาระชุมชน ”
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่ 30
รูปแบบแผนชุมชน.
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
คุณสมบัติ ของ Smart Farmer -  1. รายได้ไม่ต่ำกว่า 180,000 บาท/ครัวเรือน/ปี  2. ผ่านคุณสมบัติพื้นฐาน (ผ่านอย่างน้อย 1 ตัวบ่งชี้ ของคุณสมบัติแต่ละด้าน)
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เกษตรทฤษฎีใหม่.
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
กระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
กระบวนการการทำงานชุมชน
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
โครงสร้างการบริหารโรงเรียนพลัง แผ่นดิน เป็นผู้มีจิตอาสา 1. ศึกษากิจกรรม / ตัวอย่าง / วิธีการของจิตอาสาจากสื่อต่างๆ เช่น ภาพยนต์ สารคดี 2. นำนักเรียนไปพัฒนา.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จุดเน้น/กลยุทธ์ ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2555
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
งานวิจัยด้านการเกษตรอินทรีย์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
นโยบายและการ ขับเคลื่อน วัตถุประสงค์ หลัก.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
แนวนโยบายและการ พัฒนาวิสาหกิจชุมชน จังหวัดฉะเชิงเทรา ปี 2553.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นำเสนอ วันที่ 12 สิงหาคม 2554 โดย อ.สมพงษ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์

การดำเนินการประเมิน ประเมินผลทั้งหมด 21 ศูนย์ กลุ่มตัวอย่าง และเครื่องมือการประเมินผลดำเนินการตามข้อตกลง ระยะเวลาประเมินผล มิถุนายน – กรกฎาคม 2554

ผลการประเมิน จำแนกเป็น 3 ส่วน ผลสัมฤทธิ์ของศูนย์ฯ 2. ศักยภาพของศูนย์ฯ 3. ความคาดหวังจากผู้ประเมิน

ผลสัมฤทธิ์ของศูนย์ปราชญ์ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ระดับมาก ระดับปานกลาง ระดับน้อย

ระดับมาก ยึดแนวคิด และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกศูนย์ ผู้ผ่านการฝึกอบรมทำแนวคิด และหลักการไปปฏิบัติในระดับมาก มีการนำทรัพยากรในพื้นที่ทำการเกษตร และชุมชนมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก

ระดับมาก มีกิจกรรมลดรายจ่าย และเพิ่มรายได้ในระดับมาก กลุ่มภายในชุมชนมีลักษณะสอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก ผลิตภัณฑ์การเกษตรที่เป็นผลผลิตจากกลุ่ม สอดคล้องกับเอกลักษณ์ของชุมชนในระดับมาก

ระดับมาก ผลของกิจกรรม ได้มีการขยายเป็นต้นแบบของชุมชนอื่นใช้ในระดับมาก สมาชิกที่ผ่านการฝึกอบรม มีความเชื่อมั่นต่อแนวคิดและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก

ระดับปานกลาง มีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนในระดับปานกลาง มีการนำภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนมาประยุกต์ใช้ เพื่อการดำรงชีวิตในระดับปานกลาง มีการออมสะสมเพิ่มขึ้นจากเดิมในระดับปานกลาง

ระดับปานกลาง สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มอยู่ในระดับปานกลาง มีการเชื่อมโยงและเกื้อกูลระหว่างกลุ่มในระดับปานกลาง

ระดับน้อย มีการจดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนอยู่ในระดับน้อย

ศักยภาพของศูนย์เครือข่าย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปราชญ์ชาวบ้าน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ศักยภาพของศูนย์เครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของภาคครัวเรือนและชุมชน 2. ให้ความสำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทุกมิติ 3. ยึดหลักการพัฒนาที่สอดคล้องกับพื้นฐานเดิมของชุมชน โดยเฉพาะเกษตรอินทรีย์

ศักยภาพของศูนย์เครือข่าย ปราชญ์ชาวบ้าน 4. ประยุกต์วิธีการนำความรู้ทางวิชาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสม 5. กิจกรรมจากศูนย์การเรียนรู้สามารถเป็นต้นแบบที่ดีต่อชุมชนอื่นๆ

ความคาดหวังจากผู้ประเมิน ควรจัดลำดับชั้นของศูนย์ปราชญ์จากข้อมูลและข้อเท็จจริง 2. มีการบริหารจัดการผลผลิต และการตลาดสินค้าเกษตรอย่างเป็นระบบ 3. มีการพัฒนาศูนย์ปราชญ์ และฐานความรู้ให้คงคุณภาพที่ดีอยู่เสมอ

ประมวลภาพ การประเมินผล

ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนกลุ่มอีโต้น้อย นายผาย สร้อยสระกลาง

ศูนย์พัฒนาคุณธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์ พระมหาสุภาพ พุทธวิริโย

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาของชาวบ้าน โครงการกสิกรรมไร้สารพิษอันเนื่องมาจากพระราชดำริ นายอำนาจ หมายยอดกลาง

ศูนย์ฝึกอบรมเกษตรผสมผสานบ้านโนนรัง-บูรพา นายจันทร์ที ประทุมภา