ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ลักษณะการเชื่อมต่อของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ อาจารย์วาสนา พลทองมาก
Distributed Administration
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เรื่อง ระบบสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Accessing the Internet
3.3ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
ระบบอินเทอร์เนตในโรงเรียนที่ผู้ใช้ไม่เกิน 1000 คน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
HTTP Client-Server.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
นายพีระภานุพันธ์ แจ้งอนันต์
What’s P2P.
ระบบเครือข่ายแบบ Peer to Peer
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทที่ 7 Local Area Network
ระบบฐานข้อมูลแบบกระจาย
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ : Computer Networks
จัดทำโดย ครูสุพิชชา ตันติธีระศักดิ์
Data Communication and Network
Computer Network.
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
Introduction to Network
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
Data transfer rate(bandwidth) protocol file server web server.
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
กิจกรรมที่ เครือข่ายและ Internet explorer จุดมุ่งหมาย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักการใช้ประโยชน์ จากเครือข่าย ให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเผยแพร่
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
บทที่ 2 รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) อ.พรขัย พันธุ์วิเศษ.
Network Management and Design
โครงสร้างของเครือข่ายและเครือข่ายของคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
NETWORK.
Domain Name System   (DNS).
Internet Service Privider
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
โรงเรียนกระทุ่มแบน “ วิเศษสมุทคุณ”
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Topology) สามารถจำแนกตามลักษณะของการเชื่อมต่อได้ดังนี้ แบบบัส (Bus Topology) แบบวงแหวน (Ring Topology) แบบดาว (Star Topology) แบบเมช (Mesh Topology) แบบผสม (Hybrid Topology)

แบบบัส (Bus Topology) สายส่งข้อมูลหลัก แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อกับสายข้อมูลหลัก มีการแบ่งเวลาสำหรับการใช้สายเคเบิ้ลของแต่ละเครื่อง สามารถส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังปลายทางหลาย ๆ จุดได้ ข้อดี ใช้สื่อนำข้อมูลน้อย, ประหยัดค่าใช้จ่าย ข้อเสีย การตรวจหาจุดที่มีปัญหาทำได้ยากถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบมีจำนวนมาก ๆ, มีการชนกันของข้อมูลที่ส่งออกไปมากจนทำให้เกิดปัญหา

แบบบัส (Bus Topology) สายส่งข้อมูลหลัก แต่ละเครื่องจะเชื่อมต่อกับสายข้อมูลหลัก มีการแบ่งเวลาสำหรับการใช้สายเคเบิ้ลของแต่ละเครื่อง สามารถส่งข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังปลายทางหลาย ๆ จุดได้ ข้อดี ใช้สื่อนำข้อมูลน้อย, ประหยัดค่าใช้จ่าย ข้อเสีย การตรวจหาจุดที่มีปัญหาทำได้ยากถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบมีจำนวนมาก ๆ, มีการชนกันของข้อมูลที่ส่งออกไปมากจนทำให้เกิดปัญหา

แบบวงแหวน (Ring Topology) มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายก็จะเป็นวงกลมและมีทิศทางเดียวเสมอ ข้อดี ใช้สายเคเบิ้ลน้อย, ไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละเครื่องส่งออกไป ข้อเสีย หากเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายขัดข้อง ส่งผลให้เครือข่ายทั้งหมดไม่สามารถทำงานต่อได้

แบบวงแหวน (Ring Topology) มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายก็จะเป็นวงกลมและมีทิศทาง เดียวเสมอ ข้อดี ใช้สายเคเบิ้ลน้อย, ไม่มีการชนกันของข้อมูลที่แต่ละ เครื่องส่งออกไป ข้อเสีย หากเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายขัดข้อง ส่งผลให้เครือข่ายทั้งหมดไม่สามารถทำงานต่อได้

แบบดาว (Star Topology) ภายในเครือข่ายจะมีจุดศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อของคอมพิวเตอร์ อาจจะเป็นอุปกรณ์ เช่น hub หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ได้ การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต้อง สื่อสารผ่านศูนย์กลางก่อนที่จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ข้อดี ทำการเพิ่มจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ได้ง่ายและไม่กระทบต่อคอมพิวเตอร์ตัวอื่นในระบบ ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสำหรับสายเคเบิ้ลค่อนข้างสูงและเมื่อศูนย์กลางขัดข้องระบบก็จะหยุดทำงานด้วย

แบบดาว (Star Topology) ภายในเครือข่ายจะมีจุดศูนย์กลางในการควบคุมการเชื่อมต่อของ คอมพิวเตอร์ อาจจะเป็นอุปกรณ์ เช่น Hub หรือเครื่องCOM.ก็ได้ การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต้อง สื่อสารผ่านศูนย์กลางก่อนที่จะส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ข้อดี ทำการเพิ่มจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ได้ง่ายและไม่กระทบต่อคอมพิวเตอร์ตัวอื่นในระบบ ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสำหรับสายเคเบิ้ลค่อนข้างสูงและเมื่อศูนย์กลางขัดข้องระบบก็จะหยุดทำงานด้วย

แบบเมช (Mesh Topology) เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายจะมีช่องสัญญาณจำนวนมาก เพื่อเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การส่งข้อมูลสามารถทำได้อย่างอิสระไม่ต้องรอให้เครื่องอื่นทำงานให้เสร็จก่อน ข้อดี ทำงานได้เร็ว ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสูงสำหรับสายเคเบิ้ล

แบบเมช (Mesh Topology) เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายจะมีช่องสัญญาณจำนวนมาก เพื่อเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การส่งข้อมูลสามารถทำได้อย่างอิสระไม่ต้องรอให้เครื่องอื่น ทำงานให้เสร็จก่อน ข้อดี ทำงานได้เร็ว ข้อเสีย ค่าใช้จ่ายสูงสำหรับสายเคเบิ้ล

แบบผสม (Hybrid Topology) เป็นการผสมความสามารถของเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบโดย พิจารณาตามความเหมาะสม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานสูงสุด

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย สามารถจำแนกได้ 4 ประเภท เซิร์ฟเวอร์ (Server) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ให้บริการ ต่าง ๆ ในเครือข่าย เช่น File Server, Database Server, Printer Server, Internet Server, Web Server, Mail Server, DNS Server เวิร์กสเตชัน (Workstation) เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปที่ สามารถประมวลผลข้อมูลได้เอง

ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย ไคลเอนต์ (Client) เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเรียกใช้ข้อมูล จากเซิร์ฟเวอร์ เทอร์มินัล (Terminal) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วย จอภาพ แป้นพิมพ์ และอุปกรณ์อื่น ๆ ซึ่งไม่สามารถประมวลผลได้ ด้วยตัวเองแต่จะอาศัยตัวเซิร์ฟเวอร์ในการประมวลผลให้ โดยส่งข้อมูลไปให้และรับผลลัพธ์มาแสดง

อุปกรณ์ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

เทอร์มินอล (Terminal)

Network Adapter Card

โมเด็ม (MODEM)

Repeater

HUB

Bridge

Switching HUB

Router

Gateway

รูปแบบการประมวลผลข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง (Centralized Processing) เครื่องเซิร์ฟเวอร์จะเป็นตัวประมวลผลข้อมูลทุกอย่างแล้วก็ส่งไป แสดงที่เครื่องที่เป็นลูกข่าย การประมวลผลข้อมูลแบบ (Client/Server Processing) เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถประมวลผลข้อมูลได้ อย่างอิสระ หากต้องการข้อมูลจากเครื่องอื่นก็จะร้องขอมาใช้ได้

การประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์กลาง(Centralized Processing)

การประมวลผลข้อมูลแบบ (Client/Server Processing)

จัดทำโดย ชั้นธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนกระสังพิทยาคม นายกิตติพงศ์ เทียมเลิศ เลขที่ 1 ชั้นธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนกระสังพิทยาคม