สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

นางสาว เบญจมาศ ณารัตน์ เสนอ อาจารย์ ไพรศิลป์ ปินทะนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
Chapter5:Sound (เสียง)
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
ภาวะโลกร้อน จัดทำโดย 1. ด.ช. ศักดิ์ดา โนนน้อย เลขที่ ด.ช. ณัฐชนน วงศ์สุริยา เลขที่ ด.ญ. มินตรา เสือภู่ เลขที่ ด.ญ. วราภรณ์ คอบุญทรง เลขที่
ENCODER.
Ultrasonic sensor.
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
ลำโพง (Loud Speaker).
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
1. งานบริการเคเบิ้ลทีวี 2. งานบริการโทรทัศน์วงจรปิด
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
บทที่ 1 เทคโนโลยีกับชีวิต
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ซ่อมเสียง.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
องค์ประกอบของบทละคร.
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY)
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
การบันทึกเสียง Field trips, guest speakers, projects…
หลักการบันทึกเสียง.
ชิ้นงานที่1 ชื่อ นางสาวจรรยา พุฒเจริญ
การใช้ Green ICT ในองค์กร แบบพอเพียง
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6 ด. ญ. วลารี วงค์ตัน เลขที่ 33 ม 3/6

เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบ หนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอด อารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การ ใช้เสียง ระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความ ตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อ สร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดีย อย่างเหมาะสมย่อมสร้าง ความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจ ให้กับผู้ชมงานนำเสนอได้ โดยเนื้อหาบทนี้จะกล่าวถึง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับออดิโอ

ทำความรู้จักกับเสียง (Sound) เสียง (Sound) อยู่ในรูปแบบของ พลังงาน (Energy) เหมือนกับพลังงานความ ร้อน (Heat) และพลังงานแสง (Light) ที่สามารถถ่ายทอด จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิด จากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่นที่ ประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และ ความถี่ (Frequency) ของคลื่นเสียง ตัวอย่างเช่น เมื่อสั่นกระดิ่ง จะเกิดเป็นพลังงานเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็น อากาศเพื่อถ่ายทอดพลังงานดังกล่าว และ สะท้อนมายังหูของมนุษย์ เป็นต้น โดยปกติมนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่ อยู่ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์ ในปัจจุบัน เทคโนโลยีการผลิตเสียงได้เข้ามีบทบาทในการ ใช้ชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก

องค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งาน บนคอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการ บันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการ เหล่านี้จำเป็น ต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและ แปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทาง ไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer) ไมโครโฟน (Microphone) \

อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) อุปกรณ์ผสมสัญญาณเสียง (Audio Mixer) เป็นเครื่องมือสำหรับบันทึก และแก้ไขเสียงในแต่ละแทร็กได้อย่างอิสระ เช่น สามารถควบคุมระดับของเสียง (Volumn) จังหวะ (Tempo) และระงับเสียง (Mute) ซึ่งการ แก้ไขและจัดการแทร็กเสียงต่างๆ จะไม่ส่งผลกระทบต่อแทร็กอื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มเอฟเฟ็กต์เสียงแบบพิเศษ เช่น เสียงคอรัส เสียงเอคโค หรือเสียงจากอุปกรณ์ ไฟฟ้าได้ จากนั้นแทร็กเหล่านี้จะถูกผสมผสานในช่องสัญญาณ หากเป็นระบบเสียงสเตอริโอจะใช้ 2 ช่องสัญญาณ แต่ถ้าเป็นระบบเสียงเซอราวด์จะใช้มากกว่า 2 ช่องสัญญาณขึ้นไป

สรุป เสียง (Audio) เป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้กับงาน ด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดบรรยากาศและอารมณ์ต่างๆไปยังผู้ชมได้ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับงานมัลติมีเดียอย่างเหมาะสมย่อม สร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจแก่ผุ้ชมงานนำเสนอได้ เสียง (Audio) อยู่ในรู ) ของแบบพลังงาน (Energy) เหมือนพลังงาน ความร้อน (Hert) และพลังงานแสง (Light) ที่สามรรถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิด จากการสั่น (Vibrating) ของวัตถุ และแปลงให้อยู่ในรูปแบบคลื่นเสียงประกอบด้วยแอมพลิจูด (Amplitude) และความถี่ (Frequency) โดนปกติกมนุษย์ สามมารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮริต์

จบการ นำเสน อ