2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

ภาษา JAVA.
เอาไว้ใช้ในการอธิบายกระบวนการแปลภาษาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
Introduction to C Introduction to C.
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
นายนฤนารถ อออิงทรัพย์
โปรแกรมจำลองการทำงาน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Software คือ ชุดคำสั่งหรือ ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Software.
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
ภาษาคอมพิวเตอร์.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
Use Case Diagram.
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
SCC - Suthida Chaichomchuen
MySQL.
คุณสมบัติของซอฟท์แวร์ SCADA
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
Introduction to Cache Memory Systems
Chapter 2 Database systems Architecture
PHP คืออะไร หลายคนที่ทำเว็บไซต์ด้วย HTML หรือโปรแกรมช่วยสร้างเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Dreamweaver แล้วอาจสงสัยว่าเมื่อทำ form สำหรับ รับค่าเช่น ชื่อ ที่อยู่
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
เริ่มต้นเขียนโปรแกรม Java
ต้อนรับเข้าสู่โลกของภาษา Java
Introduction to C Language
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ระบบฐานข้อมูลจัดการคลังเส้นด้าย กรณีศึกษา บริษัทไทยคูราโบ จำกัด
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
โรงเรียนเทศบาล ๕ (วัดหาดใหญ่)
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 รู้จักกับภาษาจาวา
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ม.4/2 โรงเรียนมัธยมวัดป่ามะไฟ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมาตรการความปลอดภัยขั้นพื้นฐาน
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
Object Oriented Programming : OOP
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
นายณัฐพล นาคะป่า เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
Basic Java Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 2 วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เมื่อจบบทนี้แล้วผู้เรียนสามารถ  อธิบายคุณสมบัติสำคัญของเทคโนโลยีจาวา ได้  เขียน คอมไพล์ และ รัน โปรแกรมจาวาได้  อธิบายการทำงานของ Javatm Virtual Machine (JVM) ได้  อธิบายหลักการของ Garbage Collection ได้  อธิบายกระบวนการรักษาความปลอดภัย 3 ขั้นตอน ของการรันคลาสจาวาได้

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 3 จาวาเทคโนโลยี ภาษาสำหรับการเขียนโปรแกรม  Java Language สภาวะแวดล้อมสำหรับการพัฒนา  Java Development Kit สภาวะแวดล้อมสำหรับโปรแกรมประยุกต์  Java Runtime Environment สภาวะแวดล้อมสำหรับการติดตั้ง  J2SE, J2ME, J2EE

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 4 จาวาเทคโนโลยี

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 5 ภาษาจาวา พัฒนาโดยทีมวิจัยของ บริษัท Sun Micro System เป็นภาษาเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) เริ่มนิยมแพร่หลายในปี 1995 ชุดพัฒนารุ่นแรก JDK 1.0

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 6 เป้าหมายของ เทคโนโลยีจาวา เพื่อ สร้างภาษาที่ง่ายในการพัฒนาโปรแกรม สร้างตัวรันโปรแกรมจาวา (Java Interpreter) เพื่อให้จาวาสามารถนำไปใช้ทำงานบนหลายๆ ระบบ

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 7 จาวาเป็นภาษาที่ง่ายในการเขียน โปรแกรม จาวาได้ยกเลิกสิ่งที่จะทำให้เกิดข้อผิดพลาดใน โปรแกรมได้ง่าย  การใช้ Pointer, การจัดการและเข้าถึง หน่วยความจำโดยตรง  จาวาจะดำเนินการจัดการหน่วยความจำโดย อัตโนมัติ ภาษาจาวาเป็นภาษาเชิงวัตถุ ทำให้เราสามารถ ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมที่ซับซ้อนได้ง่าย ภาษาจาวาทำให้การเขียนโปรแกรมได้สั้น และ เป็นระเบียบ

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 8 จาวาสามารถทำงานบนหลาย Platform

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 9 จาวามีทั้ง Compiler และ Interpreter

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 10 จาวามีลักษณะเป็น Interpreter เพื่อ สามารถพัฒนาโปรแกรมได้เร็วขึ้น โปรแกรมที่ได้สามารถรันบน ระบบปฏิบัติการที่ต่างกัน ทำให้สามารถควบคุมความปลอดภัยของ โค้ดได้ โค้ดของจาวาสามารถกระจายส่วนได้ ไฟล์ ของคลาสแต่ละคลาสสามารถแยกอยู่บน ระบบเครือข่าย สามารถถูกดาว์นโหลดและ รันในเวลาที่ถูกเรียกใช้ได้

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 11 การทำงานของจาวา Java Virtual Machine Garbage Collection Code Security

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 12 1.The Java Virtual Machine เราทำการคอมไพล์โปรแกรมคำสั่งภาษาจาวา แล้ว จะได้ไฟล์รหัสคำสั่งที่เรียกว่า Java Byte-Code ซึ่งจะยังไม่สามารถรันบน คอมพิวเตอร์จริงได้โดยตรง Java Virtual Machine (JVM) เป็นเหมือนกับ เครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนที่ถูกจำลองขึ้น เพื่อ ใช้รันโปรแกรมจาวา

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ The Java Virtual Machine คุณสมบัติมาตรฐานของ JVM  - Instruction Set ( จำลองชุดคำสั่งของ CPU)  - Register set  - Class file format  - Stack  - Garbage-Collected heap  - Memory area

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ Garbage Collection พนักงานเก็บขยะที่คอยเก็บกวาดหน่วยความจำ ที่ไม่ใช้แล้ว โดย Garbage Collection จะ ทำงานเป็น Thread ที่คอยตรวจดูว่าในระหว่าง ที่โปรแกรมจาวากำลังทำงานอยู่ มี หน่วยความจำส่วนใดที่ควรจะถูกคืนสู่ระบบ เราไม่สามารถสั่งให้ GC ทำการคืน หน่วยความจำได้ GC จะทำงานแบบอัตโนมัติ

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 15 2.Garbage Collection ข้อดี  เขียนโปรแกรมง่าย ไม่ต้อง พะวง  ป้องกันการเกิด Memory Leak, ลด Bug ข้อเสีย  ควบคุมไม่ได้  การทำงานของโปรแกรม ช้าลง  ประสิทธิภาพของการใช้ หน่วยความจำลดลง

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ Code Security จาวาเทคโนโลยีจะมีการดูแลความ ปลอดภัยของระบบ ป้องกันไม่ให้โปรแกรมทำอันตรายกับ ระบบ เช่น  ทำให้เครื่องค้าง หยุดทำงาน  ไวรัสคอมพิวเตอร์  ฯลฯ

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ Code Security JRE จะมีกระบวนการทำงาน 3 ขั้นตอน ได้แก่  Load Code ทำงานโดย Class Loader  Verifies Code ทำงานโดย Bytecode verifier  Executes Code ทำงานโดย Runtime interpreter

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 18 ขั้นตอนการรันโปรแกรมจาวา

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 19 A Basic Java Application การนิยาม คลาส การนิยาม method การเขียนหมาย เหตุ การเรียกใช้ คำสั่ง การเรียกชื่อสิ่งต่างๆ ด้วยจุด. การกำหนดวง กรอบ

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 20 A Basic Java Application การ compile ใช้คำสั่ง javac เช่น javac HelloWorld.java การรันใช้คำสั่ง java เช่น java HelloWorld Java Compiler : javac Java Interpreter : java, javaw, jview, appletviewer

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 21 เครื่องมือพัฒนาโปรแกรม J2SE ใช้สำหรับพัฒนา ไม่มี Editor Java IDE  NetBeans  Eclipse  JBuilder สำหรับการศึกษา  Dr. Java

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 22 J2SE+NetBean (Free) ต้องการพื้นที่ประมาณ 250MB

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 23 J2SE+NetBean (Free)

2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรม วิเศษ 24 J2SE+NetBean (Free)