การเขียนจดหมายธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

: วัตถุประสงค์การวิจัย : การนิยามศัพท์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
ประเภทและระดับ ของการสื่อสาร
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ภาษา ในทาง ธุรกิจ.
การเขียนบันทึก.
รายงานธุรกิจ.
เทคนิคการอ่านรายงานการวิจัย
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
การบันทึกทางธุรกิจ memorandom
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวการเขียนยุววิจัยประวัติศาสตร์ท้องถิ่นภาคเหนือ เชียงใหม่ ลำพูน
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
การอ่านและวิเคราะห์ SAR
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การเขียนจดหมาย.
ลักษณะการเขียนที่ดี.
ธุรกิจ จดหมาย.
เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
การจัดกระทำข้อมูล.
การเขียนรายงานการวิจัย (เชิงปริมาณ)
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
“Backward” Unit Design?
1 ความลึกซึ้งของข้อมูล ข้อมูลแต่ละหัวข้อ (item) – มี หรือ ใช้ หลักทฤษฎีใด มาสนับสนุน – อ้างอิง จากแหล่งใด (คน สถานที่ เวลา) เว้นแต่ ข้อมูลซึ่งโดยปกติสามัญ.
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เรื่อง การเขียนรายงาน
เรื่อง การเขียนรายงาน
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
การฟังเพลง.
แนวคิดและศิลปะในการร่างหนังสือราชการ
การเขียนเชิงกิจธุระ.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
การอ่านเชิงวิเคราะห์
การสร้างสรรค์บทละคร.
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
งานสารบรรณ การจัดทำหนังสือราชการ
ทักษะการอ่าน.
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
งานสำนักงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3.
การพิมพ์จดหมายธุรกิจต่างประเทศต่าง ๆ
สารสนเทศ ข้อมูลและสารสนเทศ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนจดหมายธุรกิจ

ความหมายของจดหมายธุรกิจ จดหมายธุรกิจ หมายถึง จดหมายที่ใช้ติดต่อระหว่างกันในวงการธุรกิจ โดยมีจุดประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ ถือเป็นการสื่อสารทางธุรกิจรูปแบบหนึ่งที่ยังคงมีความสำคัญต่อวงการธุรกิจ ทั้งในด้านการประหยัด ความสะดวกรวดเร็ว การให้รายละเอียดข้อมูล การใช้เป็นหลักฐาน และเป็นสื่อสัมพันธ์ที่ดีในการติดต่อธุรกิจ

ลักษณะจดหมายธุรกิจที่ดี มี 6 ประการ ดังนี้ 1.กะทัดรัด คือ ใช้คำสั้นๆ ไม่เยิ่นเย้อ ไม่ใช้ภาษาฟุ่มเฟือย 2.ชัดเจน คือ ผู้รับเข้าใจเรื่องราวได้โดยตลอด 3.สมบูรณ์ความ คือ มีข้อความคลุมเรื่องราวทั้งหมด 4.สุภาพ คือ ใช้คำและสำนวนภาษาเป็นแบบแผนหรือกึ่งแบบ แผนการไม่แสดงอารมณ์รุนแรงในการเขียน 5.แนบเนียน คือ การเขียนข้อความอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึง สิ่งแวดล้อมต่างๆ 6.ระลึกถึงผู้อ่าน คือ การเขียนเพื่อให้ผู้รับอ่านแล้วเกิดความพอใจ

ประโยชน์ของจดหมายธุรกิจ 1. เป็นหลักฐานในการอ้างอิง เพื่อใช้ยืนยันความถูกต้อง ใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมาย 2. เป็นการให้รายละเอียดข้อมูล เนื่องจากข้อมูลต่างๆที่จำเป็นต้องระบุไว้ใน จดหมายนั้นๆอย่างครบถ้วน ชัดเจน และถูกต้อง 3. เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย จดหมายธุรกิจสามารถติดต่อแทนการ สนทนาทางโทรศัพท์หรือการพบปะตัวต่อตัว 4. เป็นการให้ความสะดวกและรวดเร็ว ในกรณีที่มีผู้รับจดหมายเป็นจำนวน มากและเรื่องที่จะติดต่อสื่อสารเป็นเรื่องเดียวกัน 5. เป็นสื่อสัมพันธ์ที่ดีในเชิงธุรกิจ ใช้จดหมายธุรกิจเป็นสื่อในการสร้าง สัมพันธไมตรีกับคนในวงการธุรกิจเพื่อเสริมโอกาสทางการค้าได้

ส่วนประกอบของจดหมายธุรกิจ 1. ที่อยู่ของผู้เขียนจดหมาย 2. วันเดือนปีที่เขียนจดหมาย 3. เรื่อง 4. คำขึ้นต้น 5. อ้างถึง 6. สิ่งที่ส่งมาด้วย 7. ใจความจดหมาย 8. คำลงท้าย 9. นามผู้เขียนและตำแหน่ง