บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนบทความ.
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
การเขียนผลงานวิชาการ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
องค์ประกอบของข่าว 1. ความรวดเร็ว (Immediacy)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
การศึกษารายกรณี.
ปัง! ปัง! ปัง! เสียงปืนดังจากป่าใหญ่ เมื่อพรานไพรไล่ยิงกระทิงเปลี่ยว
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
เขียนงานวิจัยอย่างไร ให้เป็นผล หัวใจการ “เขียนเรื่องงานวิจัย” ให้ “สำเร็จ” กมล สุกิน.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
การเขียนโครงการ.
ธุรกิจ จดหมาย.
เครื่องมือคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 1.
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การติดต่อสื่อสารในการทำงาน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การนำเสนอแฟ้มผลงานรับฟังความคิดเห็น (ประชาพิจารณ์)
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
ก้าวไกลสู่มาตรฐานวิชาชีพ
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การบริการ คืออะไร ? คือ การสื่อสารอย่างครบวงจร สื่อจาก ท่าทาง
หลักการนำเสนอ ข้อมูลสถิติ
และการประเมินแบบมีส่วนร่วม
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
การวิเคราะห์เนื้อหา.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
การบริหารจัดการ PDCA cycle
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การฟังเพลง.
วิธีการคิดวิเคราะห์.
ธวัชชัย เอี่ยมไพโรจน์
ความหมายของการวิจารณ์
ขั้นตอนในการผลิตรายการวีดิทัศน์
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
สปอตวิทยุ.
(Demonstration speech)
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
หลักการเขียนโครงการ.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์
การเขียนรายงาน.
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
การเขียนโครงการ.
CPE Project 1 บทที่ 2. ภาพรวม บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการ ทฤษฎี (theory) = สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบ และทดลองหลายครั้งหลายหนจนสามารถอธิบาย ข้อเท็จจริงสามารถคาดคะเนทำนายสิ่งที่เกี่ยวข้อง.
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประชุมบริหารจัดการพลังงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทวิทยุโทรทัศน์เป็นการเขียนเพื่อชมและ ฟัง ผู้เขียนบทรายการข่าวทั่วไปต้องยึด แนวทางที่ทำให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจ ได้ง่ายและไม่สับสนและใช้โครงสร้างการ เขียนข่าวแบบพีระมิดหัวกลับ

1. หัวข่าว (headline) และ ความนำ (lead) 2. เนื้อข่าว (body)

หัวข่าว (headline) และความนำ (lead) การกระตุ้นความสนใจของผู้รับสาร การให้ข้อมูลบางส่วนเพื่อให้ติดตาม รายละเอียดในเนื้อข่าวต่อไป

ข่าว : ประเภทข่าว : ผู้สื่อข่าว : ช่างภาพ : Producer : วันที่ : ความยาว : นาที ภาพเสียง ผู้ประกาศ CG 1. นาย xxx 2. นาย xxx

5W 1H การเขียนข่าวโดยเรียงลำดับเรื่องตามความสำคัญ โดยนำข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่สำคัญที่สุดมา เสนอเป็นอันดับแรก เรียกว่าส่วนความนำ (lead) ซึ่งจะให้ข้อมูลสรุปว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม อย่างไร ( who, what, where, when, why, how ) จากนั้นจึงค่อยนำเสนอรายละเอียดตามลำดับ ความสำคัญมากสู่น้อย

หลักการเขียนข่าววิทยุโทรทัศน์ การเขียนข่าวในลักษณะพีระมิดหัวกลับ ความนำ ย่อหน้าแรก สรุปสาระสำคัญ ของข่าว ย่อหน้าต่อ ๆ มา อธิบายความ เดิมของข่าว หรือลักษณะของบุคคลในข่าว รายละเอียดของข่าว เรียงลำดับจากข้อมูลที่มี ความสำคัญและน่าสนใจมาก ที่สุดไปจนถึงย่อหน้าสุดท้ายที่ มีความสำคัญน้อยที่สุด เนื้อข่าว สำคัญ มาก สำคัญ น้อย