วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

กิจกรรมที่ 3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
วิชาสุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
สุขบัญญัติ 10 ประการณ์ 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
บทที่ 2.
มาตรการป้องกันการติดเชื้อไข้หวัด ใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 สำหรับเจ้าหน้าที่คลัสเตอร์ 1. ทุกเช้าก่อนปฏิบัติงานทำความสะอาด Monitor โดยเฉพาะ mouse, Keyboard.
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ป.1 เรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
สภาพปัจจุบันและปัญหาสาธารณสุขของประเทศและท้องถิ่น
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคติดต่อ นำเสนอโดย คุณครูบุปผา ศิลปะ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
คู่มือการดูแลทางจิตเวช เพื่อป้องกันปัญหาการฆ่าตัวตาย
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
สุขภาพจิต ภาวะความสมบูรณ์ของจิตใจ มีพัฒนาการด้านจิตใจ และอารมณ์อย่างสมบูรณ์ เหมาะกับวัย.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
*ppt.2 ระบบดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า การอบรมการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า สำหรับผู้ปฏิบัติในพื้นที่ สนับสนุนโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม เรื่อง การป้องกันอุบัติภัย เรื่อง.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
นายวิเชียร มีสม วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนที่ 3 สอนโดย นายวิเชียร มีสม 1 เรื่อง สุขภาพผู้บริโภค เรื่อง.
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ครูวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สอนโดย นายวิเชียร มีสม พ หน่วยการเรียนที่ 1 การวางแผนดูแลสุขภาพของ บุคคลในชุมชนและสังคม.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102 หน่วยการเรียนที่3 เรื่อง การป้องกันโรค สอนโดย นายวิเชียร มีสม นายวิเชียร มีสม

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกความสำคัญพฤติกรรม สุขภาพกับการป้องกันโรค 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง บอกความสำคัญพฤติกรรม สุขภาพกับการป้องกันโรค

ประเภทของ พฤติกรรมสุขภาพ 1. พฤติกรรมการส่งเสริม สุขภาพ 3 ประเภทของ พฤติกรรมสุขภาพ 1. พฤติกรรมการส่งเสริม สุขภาพ 2. พฤติกรรมการป้องกันโรค 3. พฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วย 4. พฤติกรรมด้านสังคม เศรษฐกิจ

พฤติกรรมการป้องกันโรค 4 พฤติกรรมการป้องกันโรค พฤติกรรมการป้องกันโรค เป็น การปฏิบัติของบุคคลที่จะช่วย ป้องกันไม่ให้เกิดโรค หรือความ ผิดปกติของร่างกาย

เมื่อสุขภาพดีจะมีการป้องกันโรค - ความสะอาดของร่างกาย 5 เมื่อสุขภาพดีจะมีการป้องกันโรค - ความสะอาดของร่างกาย - การรับประทานอาหาร - ความสะอาดของบ้านเรือน - ความสะอาดของสิ่งแวดล้อม

พฤติกรรมการป้องกันโรค 6 พฤติกรรมการป้องกันโรค การเพิ่มความต้านทานโรค หรือภูมิต้านทานโรค เช่น ฉีดวัคซีนป้องกันโรค ตามระยะเวลา และมีการระบาด

การสร้างภูมิต้านทานโรค 7 การสร้างภูมิต้านทานโรค กระทรวงสาธารณสุขกำหนด แรกเกิด ถึง อายุ 16 ปี ได้แก่ วัณโรค คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน โปลิโอ โรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม

พฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วย 8 พฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วย ทางร่างกาย ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย มีไข้ ท้องเดิน ท้องผูก ได้รับบาดเจ็บ ทางจิตใจ วิตกกังวล นอนไม่หลับ หวาดระแวง กลัวในสิ่งที่ไม่น่ากลัว ซึมเศร้า

ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค 9 ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค สาเหตุ อาการ การรักษา ความรุนแรง การปฏิบัติตนที่ถูกต้อง โรคแทรกซ้อน

ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค 10 ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรค สถานที่บริการในชุมชน บุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข ฐานะทางเศรษฐกิจ ปฏิบัติตนเมื่อรู้ว่าเจ็บป่วย

พฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วย 11 พฤติกรรมเมื่อเจ็บป่วย การปฏิบัติต่อบุคคลเมื่อมีอาการ ผิดปกติเกี่ยวกับอาการของตน การแสวงหาการรักษา

ปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลเบื้องต้น 12 ปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วย การรักษาพยาบาลเบื้องต้น 1. ซื้อยาไปรับประทานเอง 2. รับบริการที่คลีนิค 3. รับบริการกับหมอเวทย์มนต์ 4. รับบริการที่ทำตัวเป็นแพทย์ 5. อยู่เฉยๆ ปล่อยให้หายเอง นายวิเชียร มีสม

1. การป้องกันโรคระดับแรก 13 1. การป้องกันโรคระดับแรก การให้สุขศึกษา รับคำปรึกษา ตรวจสุขภาพ 2. การป้องกันโรคระดับที่สอง รับการวินิจฉัย รับการรักษา 3. การป้องกันโรคระดับที่สาม ป้องกัน การเสื่อมสมรรถภาพ

การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือ ก่อนการเจ็บป่วย 14 การป้องกันก่อนการเกิดโรคหรือ ก่อนการเจ็บป่วย  การป้องกันโรคในระยะที่เกิดโรค หรือเจ็บป่วยขึ้นแล้ว  การป้องกันโรคเมื่อหายจากการ เจ็บป่วยด้วยโรคแล้ว 

การป้องกันโรคระดับบุคคล 15 การป้องกันโรคระดับบุคคล      1. ดูแลรักษาสุขภาพให้สุขภาพแข็งแรง  ออกกำลังกายสม่ำเสมอ  กินอาหารที่มีคุณประโยชน์อย่างเพียงพอ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ  และลดการสูบบุหรี่       

2. ล้างมือด้วยสบู่และทำให้สะอาดอยู่ เสมอ และใช้ช้อนกลางรับประทาน 16 2. ล้างมือด้วยสบู่และทำให้สะอาดอยู่ เสมอ  และใช้ช้อนกลางรับประทาน อาหารร่วมกับผู้อื่น 3. หลีกเลี่ยงการเดินทาง หรือพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรคนี้ 4. จะต้องผ่านกระบวนการตรวจ

การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค 17 การสร้างเสริมสุขภาพ  สมรรถภาพ และการป้องกันโรค               ความสำคัญและคุณประโยชน์ของการป้องกันโรค

18 ใบงาน