คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
เรื่อง การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลัก กับจำนวนที่มีหนึ่งหลัก
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง การบวก
รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
Counting.
เรื่อง ทฤษฎีบทปีทาโกรัส โดย.. ด.ญ.กรรณิการ์ รัตนกิจธำรง
ครูโรงเรียนฝางวิทยายน
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
โดย มิสกรรณกา หอมดวงศรี
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
Introduction to Digital System
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
เศษส่วน.
การบ้าน แซมเปิลสเปซ.
วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
แฟกทอเรียลและการเรียงสับเปลี่ยน
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค คณิตศาสตร์ สำหรับคอมพิวเตอร์ 1 ผลคูณคาร์ทีเชียน.
การดำเนินการบนความสัมพันธ์
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
วิธีทำ ตัวอย่างที่ 2.15 ก. สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา.
ตัวอย่างที่ 2.5 วิธีทำ. ตัวอย่างที่ 2.5 วิธีทำ ตำแหน่งที่ 1 สามารถจัดเครื่องจักรลง ได้ 9 เครื่อง.
ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ. สมมติให้พนักงานดังกล่าวดำเนินการแต่งตัวเพื่อไปทำงานเป็นดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.4 วิธีทำ.
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ทฤษฎีเบื้องต้นของความน่าจะเป็น
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ครูธีระพล เข่งวา 1 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๓๓๑๐๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง พระธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ ครูผู้สอน …… นายธี ระพล เข่งวา โรงเรียนวัง.
การทดลองสุ่มและแซมเปิ้ลสเปซ
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยที่ 6 ความน่าจะเป็น โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ปัญหา คิดสนุก.
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ยูเนี่ยนและอินเตอร์เซคชันของเหตุการณ์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิของพลเมืองไทย ตามรัฐธรรมนูญ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ความน่าจะเป็น เหตุการณ์ (ต่อ)

ตัวอย่างที่ 3 สุ่มหยิบสลาก 2 ใบ จากกล่อง ที่มีสลากหมายเลข 1, 2, 3 และ 4 จงหาผลลัพธ์ของเหตุการณ์ ที่จะได้ผลบวกของสลากทั้ง 2 ใบ เท่ากับ 5 เมื่อกำหนด การทดลองสุ่มดังนี้ 1 3 2 4

1) หยิบสลาก 2 ใบ พร้อมกัน 2) หยิบสลากทีละใบโดยไม่ใส่คืน ก่อนที่จะหยิบสลากใบที่สอง 3) หยิบสลากทีละใบโดยใส่คืน ก่อนจะหยิบสลากใบที่สอง

วิธีทำ 1) หยิบสลาก 2 ใบ พร้อมกัน 2 3 4 1 (1 , 2) (1 , 3) 1 (1 , 4) ใบที่ 1 2 3 4 ใบที่ 2 1 (1 , 2) (1 , 3) 1 (1 , 4) (2 , 3) (2 , 4) 2 (2 , 1)

ใบที่ 1 1 2 4 ใบที่ 2 3 (3 , 1) (3 , 2) 3 (3 , 4) (4 , 1) (4 , 2) 4 (4 , 3) จะได้ ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ ทดลองสุ่ม 12 แบบ คือ

(1,2) , (1,3) , (1,4) , (2,3) , (2,4) , (2,1) , (3,1) , (3,2) , (3,4) , (4,1) , (4,2) และ (4,3) แต่มีซ้ำกันอยู่ 6 คู่ คือ (1,2) กับ (2,1) (1,4) กับ (4,1) (1,4) กับ (4,1) (2,3) กับ (3,2) (3,4) กับ (4,3) และ (2,4) กับ (4,2)

ตัด (4,1) , (4,2) , (4,3) , (2,1) , (3,1) และ (3,2) ออก ดังนั้น จึงเหลือผลลัพธ์ทั้งหมด ที่อาจจะ เกิดขึ้นจากการทดลองสุ่ม 6 แบบ คือ (1,2) , (1,3) , (1,4) (2,3) , (2,4) และ (3,4)

ตอบ (1,4) และ (2,3) ดังนั้น เหตุการณ์ที่ผลบวกของสลากทั้ง ดังนั้น เหตุการณ์ที่ผลบวกของสลากทั้ง 2 ใบ เท่ากับ 5 มี 2 แบบ คือ (1,4) และ (2,3) ตอบ

2) หยิบสลากทีละใบ โดยไม่ใส่คืน ก่อนจะหยิบสลากใบที่สอง ใบแรก 2 3 4 ใบที่ 2 1

2 ใบที่ 1 3 4 1 3 4 2 ใบที่ 2

จะได้ ผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้น จากการทดลองสุ่ม 12 แบบ คือ (1,2) , (1,3) , (1,4) , (2,1) , (2,3) , (2,4) , (3,1) , (3,2) , (3,4) , (4,1) , (4,2) และ (4,3)

(1,4) , (2,3) , (3,2) และ (4,1) ดังนั้น เหตุการณ์ที่ผลบวกของสลากทั้ง ดังนั้น เหตุการณ์ที่ผลบวกของสลากทั้ง 2 ใบ เท่ากับ 5 มีผลลัพธ์ 4 แบบ คือ (1,4) , (2,3) , (3,2) และ (4,1)

3) หยิบสลากทีละใบ โดยใส่คืน ก่อนจะหยิบสลากใบที่สอง