ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จดหมายกิจธุระ.
Advertisements

พุทธศาสนาเถรวาท รหัสวิชา หมู่ 1.
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ๑. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน ๑๐ ข้อ ๒
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ภูมิปัญญาไทย.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
Management Information Systems
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษากับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
การก่อตั้งประชาคมอาเซียน
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
History มหาจุฬาฯ.
ภาคใต้สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยโชมอน.
จัดทำโดย ด.ญ.ทิพย์จิรา เอี่ยมวิจารณ์ ชั้นป.4/3 เลขที่ 41
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
การเขียนรายงานการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
Moodle Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment
การเขียนรายงาน.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
1. ความไม่ปกติและความปกติ ความปกติความปกติ ไม่ปกติไม่ปกติ สภาพที่เป็นตามที่เคยเป็น, ทำ อยู่เป็นประจำเป็นปกติ ทำตามที่คนอื่นทำ / เป็น, ระเบียบวิธีการตามปกติ
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ครูจงกล กลางชล. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง 2 วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับ ความเป็นมาของชนชาติไทย โดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
๑.นางสาววิมุตตรีศักดิ์สกุลไกร เลขที่ ๘ ๒.นางสาวกชรัตน์นันทเสน เลขที่ ๑๕ ๓.นางสาวสุวภัทรธูปหอม เลขที่ ๑๗ ๔.นางสาวชญานิศวิจารณ์ เลขที่ ๒๐ ๕.นายภูมิภัทรกลิ่นหอม.
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
จุดเริ่มต้น พัฒนาการจนถึงปัจจุบัน
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
พระสงฆ์กับการเมืองไทยในปัจจุบัน
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
ทบทวน ก่อนสอบปลายภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๐๑๙๙๙๐๓๒ ไทยศึกษา 01999032 Thai Studies ทบทวน ก่อนสอบกลางภาค ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

คำเตือน โปรดตรวจสอบการทำงานกิจกรรมกลุ่มของตนเอง ๑ “ต่อยอดขยายผล” ๑๕ คะแนน (รายงานตัวกับอาจารย์ที่ปรึกษาประจำกลุ่ม ออกศึกษานอกสถานที่ ณ แหล่งเรียนรู้ที่จับฉลากได้ – กำหนดหัวข้อรายงาน – ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง – ปรึกษาอาจารย์ – นำเสนอรายงานตามกำหนด – ไม่ต้องทำรายงานเล่ม – ส่งแบบรายงานผลการทำงาน) กลุ่มของเราดำเนินการไปถึงไหนแล้ว? ๒ โครงการ “สัปดาห์ไทยศึกษา” ๒๕ คะแนน (เตรียมหัวข้อ – เสนอหัวข้อต่อ อ.วรรณา ภายในสัปดาห์แรกหลังสอบกลางภาค – พบอาจารย์ที่ปรึกษา – เก็บข้อมูล – ประมวลข้อมูล – พบอาจารย์ – นำเสนอรายงานในชั้นเรียน / จัดบอร์ดหรือเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาคมด้วยวิธีอื่น ในสัปดาห์รองสุดท้ายของภาค – ส่งรายงานเล่ม – ส่งแบบรายงานผลการทำงาน) หา(หัวข้อ)เรื่องได้ทันทีที่จบต่อยอดฯ

โปรดเข้าประเมินทุกรายวิชา กำหนดประเมินการเรียนการสอน ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ครั้งที่ ๑ โปรดเข้าประเมินทุกรายวิชา ๒๙ ก.ย.-๑๐ ต.ค. ๒๕๕๗

หัวข้อที่กำหนดนำเนื้อหามาสอบกลางภาค การค้นพบทางโบราณคดีกับไทยศึกษา ประวัติศาสตร์สยาม-ไทย ก่อนอยุธยา- อยุธยา-ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ สยาม-ไทยสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบัน ภูมิหลังทางศาสนา-ความเชื่อในสังคม-วัฒนธรรมไทย: พุทธ พราหมณ์-ฮินดู คริสต์ อิสลาม ซิกข์ ขงจื้อ เต๋า ฯลฯ เข้าใจ ภาษาไทย วรรณคดีกับสังคมไทย ภาพรวมจากสุวรรณภูมิ -สยามประเทศไทย

การค้นพบทางโบราณคดีกับไทยศึกษา ผศ.ดร.วรชัย วิริยารมภ์ การค้นพบทางโบราณคดีกับไทยศึกษา ผศ.ดร.วรชัย วิริยารมภ์ ความแตกต่างระหว่าง “สมัยก่อนประวัติศาสตร์ prehistoric” กับ “สมัยประวัติศาสตร์ historic” โบราณคดี ก่อนประวัติศาสตร์ นักโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ - นัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการดำรงชีพ - ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุที่ค้นพบกับพัฒนาการทางเทคโนโลยี/ความเชื่อ/สภาพแวดล้อม/สังคม วัตถุ, สิ่งของ ที่ขุดค้น/ค้นพบ เอกสาร / วัตถุที่ร่วมสมัยกับเอกสาร โบราณคดี สมัยประวัติศาสตร์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์แบ่งตาม - เทคโนโลยี/วัสดุในการผลิต - ตามแบบแผนการดำรงชีพ - ตามแนวธรณีวิทยา ความรู้ที่ได้จาก สิ่งที่ขุดค้นพบ มีมนุษย์ดึกดำบรรพ์ อาศัยอยู่บนแผ่นดินนี้ หลายสมัย ผลการขุดค้นทางโบราณคดี บนแผ่นดินที่ปัจจุบัน เป็นประเทศไทย มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์บนแผ่นดินนี้มีวิวัฒนาการตั้งแต่เร่ร่อนเก็บหาของป่าล่าสัตว์จนถึงตั้งชุมชนเกษตรกรรมแล้วพัฒนาเป็นชุมชนเมือง พบร่องรอยมนุษย์ดึกดำบรรพ์ สิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ

ตัวอย่างวัตถุ, สิ่งของที่ขุดค้น/ค้นพบด้วยวิธีการทางโบราณคดี โครงกระดูก ภาพเขียนบนผนังถ้ำ/เพิงผา ภาชนะ/เครื่องปั้นดินเผา อาวุธ เครื่องมือล่าสัตว์ เมล็ดข้าว ลูกปัด กำไล สิ่งที่พบในหลุมฝังศพ แวดินเผา

แหล่งโบราณคดีบนแผ่นดินประเทศไทยปัจจุบัน ที่พบร่องรอยวิถีชีวิตสมัยล่าสัตว์-เก็บหาของป่า และ สมัยเกษตรกรรม Archaeological sites in the present-day Thailand where evidences have been found to prove human ways of life in the hunting-gathering culture and the farming/agricultural culture.

สยาม-ไทย ก่อนอยุธยา-ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ. ศ. ๒๔๗๕ อ สยาม-ไทย ก่อนอยุธยา-ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ อ. สิทธารถ ศรีโคตร และ อ.ศรัญญู เทพสงเคราะห์ กำเนิดรัฐในสุวรรณภูมิ และการรับอารยธรรมอินเดีย วัฒนธรรมในสุวรรณภูมิสมัยแรกๆ ศาสนา/ ระบบการปกครอง / ขนบธรรมเนียมในราชสำนัก ทวารวดี/ฟูนัน /ศรีวิชัย ฯลฯ ปัจจัยกำหนดสถานะชุมชน/ เมือง / แคว้น การรับวัฒนธรรมต่างแดนและปรับเป็นวัฒนธรรม ของตนเอง รัฐสมัยหลังและการรวมตัวเป็นรัฐสยาม สุโขทัย รัตนโกสินทร์/ กรุงเทพฯ ละโว้ สุพรรณภูมิ อยุธยา ธนบุรี ภาวะแห่งการเป็นสังคมหลากชาติพันธุ์ หลายความเชื่อ ผลกระทบต่อวัฒนธรรม สังคม การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ อันเกิดจากวัฒนธรรม/ภัยคุกคามจากภายนอก

สยาม-ไทย สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบัน สยาม-ไทย สมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบัน แนวคิดในระบบการปกครองเดิม (อยุธยา -รัตนโกสินทร์) การเปลี่ยนแบบธงชาติ และตราแผ่นดิน พ.ศ.๒๔๕๘ สมัยรัชกาลที่ ๖ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ / เทวราชา + ศักดินา การเปลี่ยนแปลงสมัยกรุงเทพฯ หลังพ.ศ.๒๔๗๕ ประชาธิปไตย / ปฏิวัติ / รัฐประหาร / ฉีกรัฐธรรมนูญ / เลือกตั้ง / ร่าง-แก้ไขรัฐธรรมนูญ การเปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ สยาม – ไทย พ.ศ.๒๔๘๒ SIAM SIAM

ศาสนาและความเชื่อในวัฒนธรรมไทย อ. ชัชวาลย์ ชิงชัย / รศ. ดร ศาสนาและความเชื่อในวัฒนธรรมไทย อ.ชัชวาลย์ ชิงชัย / รศ.ดร.อภิลักษณ์ ธรรมทวีธิกุล /อ.ธีรนันท์ ช่วงพิชิต พัฒนาการจากความเชื่อว่า animism สู่ความเชื่อ/ศาสนาจากต่างแดน จากอินเดีย: ศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาซิกข์ จากตะวันออกกลาง: อิสลาม, บาไฮ จากยุโรป(ต้นกำเนิดคือตะวันออกกลาง): คริสต์ ทบทวนหลัก-แนวปฏิบัติสำคัญ ของแต่ละศาสนา / การรับเข้ามา สู่สังคมสุวรรณภูมิ-สยาม/ประเทศไทย การปรับเข้ากับสังคม และวัฒนธรรมสยาม-ไทย / บุคคลสำคัญทางศาสนาที่มีบทบาท ต่อสังคมไทย จากจีน: ขงจื๊อ เต๋า

พุทธ ขงจื้อ คริสต์อิสลาม ในเมืองหลวง ชุมชนหลายแห่ง มีประชากร ที่มีเชื้อชาติ และนับถือศาสนาต่างกัน อาศัยอยู่ร่วมกัน หรือใกล้ชิดกัน โดยปราศจาก ความขัดแย้ง พุทธ พราหมณ์-ฮินดู รัตนโกสินทร์ตอนต้น พุทธ ซิกข์ ธนบุรี พุทธ ขงจื้อ คริสต์อิสลาม พุทธเถรวาท/ มหายาน ขงจื๊อ คริสต์ อิสลาม

เข้าใจภาษาไทย อ. ดร. ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม รศ. ดร เข้าใจภาษาไทย อ.ดร.ปนันดา เลอเลิศยุติธรรม รศ.ดร.ชไมภัค เตชัสอนันต์ และ อ.ดร.นัทธ์ชนัน นาถประทาน ลักษณะภาษา: ภาษาไทยอยู่ในตระกูลภาษาไท เป็นภาษาคำโดด ตัวอักษรไทยปรับจากแบบตัวอักษรโบราณ มีรูปวรรณยุกต์ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ภาษาในสังคมไทย: ภาษาถิ่น(ตามภูมิลำเนา/ตามกลุ่มสังคม/อาชีพ/เพศ ฯลฯ)   ทั้งตัวอักษรไทย และภาษาไทยมีวิวัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลง มาโดยตลอด มีการสร้างคำใหม่ ปัจจัยสำคัญคือ วัฒนธรรม/เทคโนโลยีที่รับจากต่างชาติ เกิดการปน/ยืม/สลับภาษา ต้องพัฒนาไปพร้อมกับอนุรักษ์ การปฏิรูปตัวเขียน ฯลฯ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ต้องเริ่มมีหน่วยงาน เฝ้าระวัง พัฒนา และทำให้ภาษาไทยเป็นมาตรฐาน ตำรา สอนภาษาไทย เล่มแรก แต่งสมัยอยุธยา      

วรรณคดีไทย: ผลงานสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนอง/สะท้อนสังคมทุกยุคสมัย รัชกาลที่ ๖ ทรงบัญญัติศัพท์ ‘วรรณคดี’ และ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชกฤษฎีกาตั้ง“วรรณคดีสโมสร" เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๗ วรรณคดีกับสังคมไทย อ.พรรณราย ชาญหิรัญ อ.รัตนพล ชื่นค้า อ. ฟาริส โยธาสมุทร ๒๕๕๕ ๒๕๕๗??? รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วรรณคดีไทย: ผลงานสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนอง/สะท้อนสังคมทุกยุคสมัย

ภาพรวมจากสุวรรณภูมิ-สยาม ประเทศไทย อ. วรรณา นาวิกมูล อ. ดร ภาพรวมจากสุวรรณภูมิ-สยาม ประเทศไทย อ.วรรณา นาวิกมูล อ.ดร.กฤตยา ณ หนองคาย สังคมสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สังคมสุวรรณภูมิ ก่อนสยาม - กำเนิดและการขยายตัวของ ชุมชนเป็นรัฐ เป็นอาณาจักร - การรับอิทธิพลจากต่างแดน โดยเฉพาะอินเดีย สังคมสยาม-ไทย - (ละโว้ สุโขทัย ฯลฯ) อยุธยา - ธนบุรี - รัตนโกสินทร์/กรุงเทพฯ - การรับอิทธิพลจากต่างแดน โดยเฉพาะฝรั่ง - การดำรงอยู่ท่ามกลางความ หลากหลายของชาติพันธุ์ ศาสนา/ ความเชื่อ

นี่คือกรอบความรู้ ที่นิสิตได้เรียนมา ในครึ่งแรกของภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๗

จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค องค์ประกอบของข้อสอบ คะแนนเต็ม ๒๕ ปรนัย ๔ ตัวเลือก ๑๐๐ ข้อ ๒๐ คะแนน เนื้อหา: การค้นพบทางโบราณคดีกับความเข้าใจเรื่องไทยศึกษา สังคม การเมือง การปกครองของรัฐสยาม-ไทย ก่อน และ หลัง พ.ศ. ๒๔๗๕ ศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และศาสนาอื่นๆ กับสังคมและวัฒนธรรมไทย ความเข้าใจภาษาไทย + อัตนัย เติมคำในช่องว่างให้ถูกต้อง ทั้งความหมายและการสะกดคำ ๑๐ ข้อ ๕ คะแนน เนื้อหาจาก บทนำ ไทยศึกษา+จากหัวข้ออื่นๆ

จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค จงเตรียมตัวให้พร้อม สำหรับการสอบกลางภาค วันอาทิตย์ที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. วัน/เวลา สถานที่ หมู่ ๑ ศศ., ศษ, สค.,วศ. ศร.๑-๓๓๒ หมู่ ๑ อื่นๆ + หมู่ ๒ ศษ ศร.๑-๒๑๓ หมู่ ๒ อื่นๆ ศร.๑-๓๓๓ หมู่ ๑๒๐ ศร.๑-๒๒๕ รหัส ๕๗๑๐๗๕๐๐๑๘-๕๗๑๐๗๕๑๙๒๘ หมู่ ๑๒๐ ศร.๑-๒๒๖ รหัส ๕๗๑๐๗๕๑๙๓๖-๕๗๑๐๗๕๒๙๒๔

อย่าลืมบัตรประจำตัวนิสิต ตรงต่อเวลา และสถานที่ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม จากเว็บไซต์ ของฝ่ายวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป แต่งกาย ไม่ถูกระเบียบไม่ได้เข้าสอบแน่นอน

 ขอให้ นิสิตทุกคนโชคดี !!! ท้ายที่สุด…  ขอให้ นิสิตทุกคนโชคดี !!!