หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

หลักการบันทึกข้อความ
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
คำสำคัญ (Keywords) ที่แสดง คุณภาพ ระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา โดยหน่วยงานต้น สังกัด สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพม.35.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
สรุปภาพรวมของการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 6
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
นำเสนอหนังสือวิชาการ
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
รายวิชา เว็บเทคโนโลยี (Web Technology)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ยิ้มก่อน ทักก่อน ไหว้ก่อน
Communities of Practice (CoP)
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
กระบวนการวิจัย Process of Research
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
การระดมความคิดกลุ่ม เขียนแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ 1. แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการที่ได้เลือก จากแผนที่ใหญ่ โดยมีความสำคัญเร่งด่วน ใช้ เวลาสั้น.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การเขียนรายงาน.
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
การฟังเพลง.
การถอดบทเรียน หลังจากการดำเนินกิจกรรมโครงการ เสร็จสิ้นแล้ว
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Linguistics and Reading English 1
หน่วยที่ ๓ การนำเสนอข้อมูล
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
ENL 3701 เนื้อหา ๑ ภาษาคืออะไร.
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2 รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น

ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ การแบ่งยุคการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ ตามความเห็นของ ศาสตราจารย์ Charles C. Fries. (1962). Linguistics and Reading, pp. 35 – 92. 1. ยุคที่ ๑ ระหว่าง ค.ศ. 1820 – 1875 (พ.ศ. 2363-2418) 2. ยุคที่ ๒ ระหว่าง ค.ศ. 1875 – 1925 (พ.ศ. 2418 –2468) 3. ยุคที่ ๓ ระหว่าง ค.ศ. 1925 – 1950 (พ.ศ. 2468 –2493) 4. ยุคที ๔ ระหว่าง ค.ศ. 1950 – 1960 (พ.ศ.2493 - 2506) จนถึงปัจจุบัน (ค.ศ.2013 , พ.ศ.2556)

๑.ยุคเริ่มต้นของการศึกษาภาษาตามแนวใหม่ ข้อสรุปของการศึกษาในยุคแรก เน้นการเปลี่ยนแปลงของภาษา ภาษาไม่มีลักษณะหยุดนิ่งหรือตายตัว ภาษามีการเปลี่ยนแปลงที่แน่นอนและเป็นระบบ การเปลี่ยนแปลงมาจากการใช้ภาษาของเจ้าของภาษาที่เป็นผู้พูดและผู้เขียน ประเด็นที่ต้องพิจารณา...อะไรคือจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงการศึกษาภาษา และมีหลักฐานอ้างอิงอย่างไรบ้าง

๒.ยุคที่สองของการศึกษาภาษา ข้อสรุปของการพัฒนาการศึกษาภาษายุคที่สองเน้นด้านเสียงของภาษา ประเด็นที่ต้องพิจารณา ๑. ทำไมนักภาษาศาสตร์จึงต้องศึกษาด้านเสียงของภาษา ๒. มีเครื่องมืออะไรที่ใช้ในควบคุมการศึกษาด้านเสียงของภาษา ๓. เพราะเหตุใดภาษาต่างๆของมนุษย์จึงมีเสียงแตกต่างกัน และใครเป็นผู้กำหนดความถูกต้องและมาตรฐานของเสียงในแต่ละภาษา

๓.ยุคที่สามของการศึกษาภาษา ข้อสรุปการศึกษาภาษาในยุคที่สามเน้นด้านโครงสร้างของภาษา ประเด็นที่ต้องพิจารณา ๑. เพราะเหตุใดนักภาษาศาสตร์จึงสนใจศึกษาด้านโครงสร้างของภาษา ๒. นักภาษาศาสตร์ได้ข้อมูลการศึกษาจากแหล่งใด ๓. การศึกษาด้านโครงสร้างเปิดเผยข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง และใครเป็นผู้นำในการศึกษาภาษาในยุคนี้

๔.ยุคที่สี่เป็นยุคใหม่ของการศึกษาภาษา ข้อสรุปของการศึกษาภาษาในยุคนี้เน้นด้านการนำเอาหลักภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ประเด็นที่ควรพิจารณา ๑. การศึกษาภาษาได้มีการเปลี่ยนแปลงจากยุคที่ผ่านมาอย่างไรบ้าง ๒. ใครเป็นผู้บุกเบิกการนำทฤษฎีด้านภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ๓. ความรู้ด้านภาษาศาสตร์ได้ขยายตัวออกไปสู่ศาสตร์อื่นๆอย่างไรบ้าง ๔. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาษาศาสตร์ทำให้เกิดผลดีด้านการศึกษาภาษาหรือไม่ และเป็นอย่างไร

๒. ขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ ภาษาศาสตร์มีขอบข่ายต่างกัน ๓ คู่ลักษณะ คือ ๑.ภาษาศาสตร์แบบปัจจุบัน กับ ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ (Syncronic & Diacronic) ๒. ภาษาศาสตร์ทฤษฎีและภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Theoretical & Applied Linguistics) ๓. ภาษาศาสตร์อนุภาคและภาษาศาสตร์มหภาค (Micro & Macro Linguistics)

ประเด็นที่ต้องพิจารณาเกี่ยวกับการศึกษาภาษา ๑. พัฒนาการของการศึกษาวิชาภาษาศาสตร์ทำให้เราได้เรียนรู้อะไรบ้าง ๒. นักภาษาศาสตร์ทางยุโรปและอเมริกา ได้แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ด้านการศึกษาภาษาในด้านใดบ้าง ๓. ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎีกับภาษาศาสตร์ประยุกต์มีข้อแตกต่างหรือเหมือนกันหรือไม่และอย่างไร ๔. ปัจจุบันวิชาภาษาศาสตร์ได้มีบทบาทในการดำเนินชีวิตของคนในยุคใหม่ในด้านใดบ้าง