สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทาน
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
ผู้จัดทำ 1.นายกิตติพงศ์ ทีภูเวียง เลขที่ 1
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
การพัฒนาความสามารถในการจำศัพท์คำกริยาภาษาญี่ปุ่น โดยกิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดจากท่าทาง ของนักเรียนระดับชั้น ปวช. 1 กัลยา ออมสิน.
การลงข้อมูลแผนการสอน
ชื่อเรื่อง. ผลของการพัฒนาความรับผิดชอบของนักเรียนกลุ่มอ่อน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางสาววาสนา เก่าพิมาย
นางสาวทัศนีย์ ศรีภุมมา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นายณัฐกร กันทะศรี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
อาจารย์ชนิศา แจ้งอรุณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางนิตยา งามยิ่งยง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม ( สยามเทค )

จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ทัศนคติของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การใช้ ชุดฝึกเสริมทักษะรายวิชา บัญชีเบื้องต้น 1 สำหรับ นักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีระยอง บริหารธุรกิจ ผู้วิจัย.
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน วิชาหลักการจัดการ โดยใช้วิธีการ สอนแล้วสอบ ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. 2/1 – 2/5 ) ปี การศึกษา.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
นางสาวพัชราภรณ์ สาตะสาร
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
ชื่อผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีหญิง ภรณ์ทิพย์ เทพธีระชัย สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
อริส ขวัญเสียงเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี

โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม ผลการใช้เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อเพิ่มความใส่ใจต่อการเรียนของนักเรียนสมาธิสั้น ในรายวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 คมสัน ชัยรัตน์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม

ปัญหาการวิจัย เนื่องจากปัจจุบันมีนักเรียนสมาธิสั้นจำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งไม่พบในตอนเข้าสมัครเรียน แต่จะพบในขั้นการเรียนการสอนว่านักเรียนมีสมาธิสั้น อันมีผลทำให้นักเรียนมีปัญหาต่อการเรียนในรายวิชาต่าง ๆ รวมถึงวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 ด้วย เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการสร้างแรงจูงใจ และการสร้างความเข้าใจที่ดีต่อนักเรียนสมาธิสั้น จึงได้เลือกวิธีการใช้บทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประกอบบทเรียน เพื่อให้นักเรียนสมาธิสั้นมีความใส่ใจต่อการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น และเรียนรู้ได้ทันกับนักเรียนปกติ

วัตถุประสงค์ของการทำวิจัย เพื่อศึกษาผลของการใช้บทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประกอบบทเรียน เพื่อเพิ่มความใส่ใจต่อการเรียนของนักเรียนสมาธิสั้น

ตารางวิเคราะห์ข้อมูล ตาราง 1 แสดงเวลาการเกิดความใส่ใจต่อการเรียนของนักเรียนสมาธิสั้น ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ระยะ ครั้งที่ เวลาการเกิดความใส่ใจต่อการเรียน (นาที/จากเวลาทั้งหมด 60 นาที) ค่าเฉลี่ย ร้อยละ เส้นฐาน 1 15   25.00 2 17 28.33 3 20 33.33 4 16 26.66 5 18 30.00 รวม 86 17.20 28.66

เวลาการเกิดความใส่ใจต่อการเรียน (นาที/จากเวลาทั้งหมด 60 นาที) ระยะ ครั้งที่ เวลาการเกิดความใส่ใจต่อการเรียน (นาที/จากเวลาทั้งหมด 60 นาที) ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ทดลอง 6 24   40.00 7 28 46.66 8 30 50.00 9 35 58.33 10 11 34 56.66 รวม 186 31 51.66 ถอดถอน 12 13 22 36.66 14 19 31.66 15 27 45.00 16 20 33.33 112 22.40 37.33

แผนภูมิแสดงเวลาการเกิดความใส่ใจต่อการเรียนของนักเรียนสมาธิสั้นในช่วงเวลา 60 นาที แผนภูมิที่ 1 แสดงเวลาการเกิดความใส่ใจต่อการเรียนของนักเรียนสมาธิสั้น แผนภูมิที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยของความใส่ใจต่อการเรียนวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 ในแผนการสอนที่ 1-5 แผนการสอนที่ 6-11 และแผนการสอนที่ 12-16 ของนักเรียนสมาธิสั้น

สรุปผลการวิจัย นักเรียนสมาธิสั้น มีพฤติกรรมความใส่ใจต่อการเรียนวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 เพิ่มขึ้นเมื่อมีการใช้เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประกอบบทเรียน และเมื่อมีการถอดถอนการใช้เพลงพระราชนิพนธ์ประกอบบทเรียน พบว่า พฤติกรรมความใส่ใจต่อการเรียนวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2 ยังมีความคงทนอยู่

ภาพกิจกรรมการใช้เพลงพระราชนิพนธ์ประกอบบทเรียน

ภาพกิจกรรมการใช้เพลงพระราชนิพนธ์ประกอบบทเรียน

ขอบคุณ..... วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม Phetkasem Management Technological College ขอบคุณ.....