PHP เบื้องต้น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

HTML Language ภาษา HTML คืออะไร ? HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้ในการพัฒนา web page เพื่อให้โปรแกรม web brower ต่างๆ (Internet Explorer,
การเขียนผังงาน.
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
JavaScript.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
HTML เบื้องต้น ธวัชชัย สลางสิงห์.
ภาษา SQL (Structured Query Language)
PHP LANGUAGE.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
PHP LANGUAGE.
โครงสร้าง ภาษา HTML.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
Surachai Wachirahatthapong
Operating System ฉ NASA 4.
– Web Programming and Web Database
Introduction to php Professional Home Page :PHP
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บไซต์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
บทที่ 1 เริ่มต้นกับ HTML.
เครื่องนักศึกษา  c:\appserv\www\ชื่อนักศึกษา\ชื่อไฟล์.php
Introduction to C Language
Cascading Style Sheet ง การเขียนเว็บไซต์ สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยา คม.
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
ใบงานที่ 3 โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ใบงานที่ 7 การรับและแสดงผลข้อมูล
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
HTML, PHP.
บทที่ 7 Flash 8 ActionScripts.
MS.Pantharee Sawasdimongkol
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
เสรี ชิโนดม รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ฟังก์ชัน.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 12 FORM.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
 เนื่องจากในปัจจุบันทุกๆ ปีจะมี ภาษาคอมพิวเตอร์เกิดขึ้นมากมาย และ ภาษาต่างๆ จะมีจุดดีและจุดด้อย แตกต่างกันไป ผู้ใช้จึงจําเป็นต้องทําการ คัดเลือกภาษาที่จะนํามาใช้งานอย่าง.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
โครงสร้าง ภาษาซี.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
โครงสร้างของภาษา HTML
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PHP เบื้องต้น

การแทรกคาสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML สามารถแทรกคำสั่งภาษา PHP ได้โดยการใช้ PHP tags ซึ่งมีไว้เพื่อเป็นการบ่งบอกให้รู้ส่วนที่เป็นคำสั่งของภาษา PHP ที่อยู่ในเอกสาร HTML การใช้ PHP tags นั้นสามารถทำได้ 4 รูปแบบ ดังต่อไปนี้

การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML XML Style หรือ Default Syntax รูปแบบ <?php คำสั่ง; ?> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ XML Style <?php echo “Hello World ! <br/>”; echo “I am PHP”; ?>

การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML SGML หรือ Short Tags รูปแบบ <? คำสั่ง; ?> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ SGML หรือ Short Tags <? echo “Hello World ! <br/>”; echo “I am PHP”; ?>

การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML Script Style รูปแบบ <script language=‘php’> คำสั่ง; </script> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ Script Style <script language=“php”> echo “Hello World”; </script>

การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML ASP Style รูปแบบ <% คำสั่ง; %> ตัวอย่างที่ รูปแบบการใช้ PHP tag แบบ ASP Style <% echo “Hello World”; %>

การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML แบบที่แนะนำให้ใช้ คือ XML style หรือ Default Syntax เนื่องจากสามารถทำงานได้กับทุกเซิร์ฟเวอร์ อีกทั้งสอดคล้องกับไวยากรณ์ของภาษา XML รูปแบบ <?php คำสั่ง; ?>

การแทรกคำสั่งภาษา PHP ในเอกสาร HTML การวางคำสั่งในภาษา PHP ไว้ภายในเอกสาร HTML ตามที่ต้องการได้ โดยที่ PHP tags อาจจะวางอยู่สลับกับ HTML tags ตัวอย่าง ดังนี้ <html> <head> <title>My Homepage</title> </head> <body> <h1> <?php echo "Hello World!"; ?> </h1> </body> </html>

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP เครื่องหมายสิ้นสุดคำสั่ง ใน PHP จะใช้เครื่องหมาย ; (Semicolon) เป็นตัวแสดงจุดสิ้นสุดในแต่ละคำสั่ง เช่น $x = 10; $z = “abc”; หลังใส่เครื่องหมาย ; เพื่อสิ้นสุดคาสั่งแล้ว สามารถนาคำสั่งอื่นมาต่อท้ายได้เลย แต่การเขียนโค๊ดลักษณะนี้จะอ่านโปรแกรมได้ยาก ดังนั้นไม่นิยมทำกัน เช่น $x = 10; $y = x + 10 ; $z = “abc”;

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP คำอธิบาย (Comment) คำอธิบาย ใช้ในการอธิบายเกี่ยวกับโปรแกรมที่เขียน เพื่อช่วยให้พิจารณาโค้ดได้ง่ายขึ้น แต่โปรแกรมจะไม่นำส่วนที่เป็นคำอธิบายไปประมวลผลได้ใน PHP สามารถเขียนคาอธิบายได้หลายแบบดังนี้ Single-Line C++ Syntax หรือ Shell Syntax เป็นการเขียนคาอธิบายบรรทัดเดียว โดยใช้เครื่องหมาย // หรือ # ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่สัญลักษณ์เป็นต้นไปตลอดทั้งบรรทัดเป็นคำอธิบายทั้งหมด และจะไม่นาบรรทัดนั้นมาประมวลผล ดังนี้

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP ตัวอย่าง แสดงการใช้เครื่องหมาย // หรือ # เพื่อเขียนคาอธิบายแบบบรรทัดเดียว //Author : Parinya Noidonprai #All Rights Reserved

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP คำอธิบาย (Comment) Multiple-Line C Syntax เป็นการเขียนคำอธิบายแบบหลายๆ บรรทัด โดยใช้สัญลักษณ์ /* */ ซึ่งโปรแกรมจะถือว่าตั้งแต่สัญลักษณ์ /* เป็นต้นไปเป็นคำอธิบาย จนกว่าจะเจอสัญลักษณ์ */ จึงจะถือว่าสิ้นสุดคำอธิบาย ตัวอย่าง ดังนี้

องค์ประกอบพื้นฐานของการเขียน PHP ตัวอย่าง แสดงการใช้เครื่องหมาย /* */ เพื่อเขียนคาอธิบายแบบหลายบรรทัด /* Author : Parinya Noidonprai All Rights Reserved */

การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ คำสั่ง echo ( ) คำสั่ง echo ( ) สามารถใช้แสดงผลลัพธ์ของข้อมูลแล้วส่งผ่านไปแสดงผลยังเว็บบราวเซอร์ ตัวอย่าง <?php $name = “Thai”; $surname= “Land” ; echo “ ชื่อ”.$name.“ ”.$surname; ?>

การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ คำสั่ง $_POST $_POST เป็นคำสั่งที่ใช้ในการแสดงข้อมูลที่ถูกส่งมาจากฟอร์ม คำสั่ง Form <input type=“text” name=“ชื่อ”> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[ชื่อ]; ?>

การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ คำสั่ง Form <input type=“text” name=“age”> <input type=“password” name=“pass”> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[‘age’]; echo $_POST[‘pass’]; ?>

การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ คำสั่ง Form <textarea name=“address”> </textarea> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[‘address’]; ?>

การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ คำสั่ง Form <input type=“radio” name=“age” value=“15”> <input type=“radio” name=“age” value=“25”> <input type=“radio” name=“age” value=“35”> ตัวอย่าง <?php echo $_POST[‘age’]; ?>

การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ คำสั่ง Form <input type=“checkbox” name=“music” value=“rock”> <input type=“checkbox” name=“music” value=“soft”> ตัวอย่าง <?php foreach($_POST[‘music’] as $val){ echo $val; } ?>