หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลีลาการเรียนรู้ Learning Style.
Advertisements

สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
เรื่อง เขาเป็นใครหนอ ? เขามาจากไหน ?
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
สรุปผลรวมของการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง 中国货币 (สกุลเงินจีน) ช่วงชั้นที่ที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูนาฎหทัย สิทธิบุญ โรงเรียนแกลง“วิทยสถาวร”จังหวัดระยอง.
ครูอิงครัต กังวาลย์ โรงเรียนทุ่งสง
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หน่วยที่ 1 ภาษากับการสื่อสาร.
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
กระบวนวิชา TL 214 การพัฒนาทักษะภาษาไทยรายกรณี
การเขียนรายงานสถานการณ์ การเฝ้าระวังและเตือนภัย ทางสังคม
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
เรื่อง การเขียนรายงาน
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การเขียน.
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
การเขียนรายงาน.
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การอ่านเชิงวิเคราะห์
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ENL 3701 Unit 2 การอ่านคืออะไร
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Linguistics and Reading English 1
แผนการจัดการเรียนรู้
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน. ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น.
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
ENL 3701 เนื้อหา ๑ ภาษาคืออะไร.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การเขียนโครงการ.
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701 รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น

ตัวแบบการอ่าน (Model of Reading) ๑. ตัวแบบการอ่านของ Gray & Robinson ทักษะสำคัญ ๕ ประการ ๑. การรับรู้คำ (Word perception) ๒. ความเข้าใจในการอ่าน (Comprehension) ๓. การแสดงปฏิกิริยาต่อเรื่องที่อ่าน (Reaction) ๔. การซึมซับในการอ่าน (Assimilation) ๕. ความเร็วในการอ่าน (Rate of reading)

๑. การรับรู้คำ (Word recognition) ลักษณะและส่วนประกอบ ๑. การชี้และสัมพันธ์ความหมายของคำ ๒. คำที่พบเห็นในที่ต่างๆ (Sight words) ๓. บริบทที่ชี้แนะ ๔. การวิเคราะห์ทางเสียง ๕. การวิเคราะห์ทางโครงสร้าง ๖. การใช้พจนานุกรม

๒. ความเข้าใจในการอ่าน ประกอบด้วย ๑. ความเข้าใจตามตัวอักษร (Literal comprehension) ๒. ความเข้าใจโดยนัย (Implied comprehension) ๒.๑ การอ่านในระหว่างบรรทัด (Read between the line) ๒.๒ การอ่านเลยบรรทัดออกไป (Read beyond the line)

๓. การแสดงปฏิกิริยาต่อสิ่งที่อ่าน ๑. การอ่านแบบวิพากษ์ (Critical reading) ๒. การประเมินเนื้อหาที่อ่าน เป็นที่ยอมรับ หรือปฏิเสธ ๔. การซึมซับในการอ่าน เป็นการหลอมความคิดจากเนื้อเรื่อง เข้ากับความรู้เดิม เกิดเป็น ความคิดใหม่ ๕. อัตราเร็วในการอ่าน ขึ้นอยู่กับเนื้อเรื่องที่อ่านและความมุ่งหมายในการอ่าน

๒. ตัวแบบการอ่านทางจิตภาษาศาสตร์ ผู้สร้างตัวแบบคือ Professor K. Goodman มีส่วนประกอบดังนี้ ๑. ใช้ตัวชี้แนะในการอ่าน ๔ อย่าง ๑.๑ ตัวชี้แนะภายในคำ ๑.๒ ตัวชี้แนะในภาษาหรือเนื้อเรื่อง ๑.๓ ตัวชี้แนะจากผู้อ่านเอง ๑.๔ ตัวชื้แนะจากภายนอก ๒. ทฤษฎีการอ่าน ๒.๑. การอ่านมิใช่กระบวนการตายตัว หรือแน่นอน ๒.๒. การอ่านเป็นกระบวนการที่มีความหมายเป็นศูนย์กลาง ๒.๓ บริบทเป็นส่วนประกอบที่สำคัญสำหรับการอ่าน ๒.๔ ความชำนาญทางภาษาจะเพิ่มทักษะการอ่าน

๓. ตัวอ่านแบบการถ่ายทอดข่าวสาร มีขั้นตอนดังนี้ ๑. การรับภาพ (Visual impact) ๒. การรับรู้ภาพที่มองเห็น (Recognition of the input) ๓. ภาพลักษณ์ไอโคนิค (Iconic image) ๔. ความจำชั่วคราว ๕. ความจำถาวร

๔. การอ่านออกสียงและการอ่านในใจ ๔.๑ การอ่านออกเสียง (Oral reading) ผู้อ่านใช้กลไกประกอบหลายอย่าง คือการใช้สายตา การใช้กล้ามเนื้อในปากและในคอในการออกเสียง การควบคุมจังหวะ การถ่ายทอดอารมณ์ และความรู้สึกของผู้เขียน ประโยชน์ ๑. ทางการศึกษา เช่นการอ่านบทประพันธ์ บทละคร เพื่อความซาบซึ้งในบทประพันธ์ เกิดภาพพจน์ ๒. ทางสังคม ใช้ในการสื่อสารสำหรับมวลชน การปรับปรุงการอ่านออกเสียง ๑)ผู้อ่านต้องเรียนรู้การออกเสียงและมีทักษะอย่างถูกต้อง ๒) มีการควบคุมเสียง ระดับเสียง สื่อสารได้ถูกต้อง มีความไพเราะ เสียงดัง ฟังชัด

๕. การอ่านในใจ พฤติกรรมการอ่าน การใช้สายตา มีการรับรู้และเข้าใจ ไม่มีการเปล่งเสียงออกมา ไม่ว่าจะออกเสียงในใจ หรือการเคลื่อนไหวอวัยวะในการออกเสียง จุดประสงค์ เป็นการทำความเข้าใจความหมายจากภาษาเขียน มีการรับรู้และแปลความหมายสำหรับผู้อ่านเอง การอ่านในใจจะมีอัตราความเร็วมากกว่าการอ่านออกเสียง ขึ้นอยู่กับการฝึกและความเข้าใจเนื้อเรื่องที่อ่าน

๖. ปัญหาการอ่านในระยะเริ่มเรียน ๖.๑ การใช้ความคิดเพื่อให้เกิดความเข้าใจเป็นหน่วย (Conceptualization) ๖.๒ การเรียนรู้ภาษา (Language acquisition) ด้านรูปคำ เสียง ไวยากรณ์ และความหมาย จากภาษาเขียน ๖.๓ การใช้กลไกทางร่างกายด้านประสาทสัมผัสและการรับรู้ต่างๆ เช่น การใช้สายตา การฟัง การประสานงานระหว่างตาและมือ การควบคุมอารมณ์ และความสนใจ

๗. ประเด็นปัญหาเพื่อการอภิปรายและตอบคำถาม ๑. การส่งเสริมการอ่านในระยะเริ่มเรียน จะใช้ตัวแบบการอ่านใดจึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ๒. การอ่านออกเสียงกับการอ่านในใจมีจุดร่วมและจุดต่างอย่างไรบ้าง ๓. การอ่านในระยะเริ่มเรียนผู้อ่านจะประสบปัญหาในด้านใดบ้าง