การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

Active Sever Page.
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VI : การบันทึกข้อมูลผ่านเว็บเพจ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
PHP LANGUAGE.
ทส215 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 1
Operating System ฉ NASA 4.
– Web Programming and Web Database
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce Session and Cookies.
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
การสร้างช่องรับข้อมูล
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การจัดการกับเหตุการณ์ Event Handling
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
การสร้างงานกราฟิก ในภาษา php
Cascading Style Sheet ง การเขียนเว็บไซต์ สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยา คม.
คำสั่งเงื่อนไข ง การเขียนไดนามิก เว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while และ do…while
การทำงานกับ เลขจำนวน ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
DHTML ง40208 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาจาวาสคริปต์ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้คำสั่ง เงื่อนไข การเขียนเว็บเพจโดยใช้ ภาษาสคริปต์ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การเขียน JavaScript ในเว็บเพจ ง การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิพจน์และตัวดำเนินการ
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การจัดการแท็ก โดยใช้ Document Object Model : DOM ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
Data Form c40205 Web Site Developing in PDP style ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
คำสั่งแสดงผลในภาษา PHP
การรับข้อมูลในภาษา php
การใช้งาน Dev C ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
HTML, PHP.
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
เสรี ชิโนดม PHP กับ Form เสรี ชิโนดม
CHAPTER 12 FORM.
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการเขียนเว็บไซต์
กระบวนการทำงานและบุคลากร
Object Oriented Programming : OOP
การจัดการแฟ้มข้อมูล.
โครงสร้าง ภาษาซี.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
PHP เบื้องต้น.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสร้าง ฟอร์มรับข้อมูล ง การเขียนเว็บไซต์ เบื้องต้น ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียน ปลวกแดงพิทยาคม.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
PHP Html Form && Query string
Form.
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม

หลักการรับข้อมูลใน ภาษา php ภาษา php ไม่มีคำสั่งที่ใช้ในการรับ ข้อมูลโดยตรงเนื่องจากเป็นภาษาที่ ทำงานบนฝั่ง server ถ้าต้องการรับข้อมูลจากผู้ใช้เพื่อนำไป ประมวลผลจะต้องรับผ่าน form ใน ภาษา html ดังนั้นเพื่อให้เข้าใจง่ายในการรับข้อมูล ควรจะมีไฟล์ที่ใช้ 2 ไฟล์ ไฟล์แรกเป็น ไฟล์ html ที่มีฟอร์มรับข้อมูล ส่วนอีก ไฟล์เป็นไฟล์ภาษา php ที่นำเอาข้อมูล นั้นไปใช้

ตัวอย่างการรับข้อมูลใน ภาษา php ในตัวอย่างจะประกอบด้วย 2 ไฟล์ ไฟล์ที่ 1 ชื่อ recive.html เป็น ไฟล์ html ที่มี form input สำหรับข้อมูลชนิด text จาก ผู้ใช้ ไฟล์ที่ 2 ชื่อ process.php ทำ หน้าที่รับข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อนมา ทำการแสดงผล

ไฟล์ recive.html 1. จะต้องระบุ ไฟล์ php ที่จะใช้รับ ข้อมูลด้วยคุณสมบัติ action 2. จะต้องระบุวิธีการส่ง get หรือ post ด้วยคุณสมบัติ method 3. ในฟอร์มจะใช้ input ประเภทใดต้อง ศึกษาคำสั่ง 4. ที่สำคัญอย่าลืมตั้งชื่อ tag ด้วย คุณสมบัติ name 5. เสร็จแล้วให้ปิดท้ายด้วย input submit เพื่อใช้ส่งข้อมูล

recive.html

process.php ต้องใช้ ฟังก์ชัน stripslashes($_POST[‘ ตัวแปรที่อยู่ใน tag name']); เช่นใน จะต้องใช้ stripslashes($_POST[‘abc']);

process.php <?php $d = stripslashes($_POST[‘data']); printf(“ ข้อมูลที่ผู้ใช้ส่งมาคือ $d”); ?>

หลักการประมวลผลใน ภาษา php ข้อมูลที่เป็นตัวเลขในภาษา php สามารถนำมาประมวลผล ได้โดยใช้ตัวดำเนินการทาง คณิตศาสตร์ทั่วไป

ตัวอย่างการประมวลผล ในภาษา php จะสร้างไฟล์ 2 ไฟล์ ไฟล์แรกชื่อ input.html ทำหน้าที่รับข้อมูล ตัวเลขมา 2 ค่า ไฟล์ที่ 2 ชื่อ multiply.php ทำ หน้าที่นำค่าที่รับมามาคูณกันแล้ว แสดงผลลัพธ์

input.html ข้อมูลที่ 1 ข้อมูลที่ 2

multiply.php <?php $a = stripslashes($_POST[‘data1']); $b = stripslashes($_POST[‘data2']); $c = $a * $b; printf(“$a * $b = $c”); ?>