ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
รหัส หลักการตลาด.
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
Comparative advantage and the gains from trade (cont.)
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
New Trade Theory ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
Lecture 8.
จงหาค่า A-G MU TU 1 12 A 2 9 B 3 C 26 4 D 5 E F 7 -6 G
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ โดย อ.กุลกนิษฐ์ ใจดี
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ราคาและวิธีการกำหนดราคา
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Theory of Firm.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ลัทธิคลาสสิคใหม่ Neoclassical Economics
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
MARKET PLANNING DECISION
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การผลิตและต้นทุนการผลิต
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภค.
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
บทที่ 8 รายรับและกำไรจากการดำเนินธุรกิจ
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ลักษณะและขอบเขตของการตลาด
ต้นทุนการผลิต.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
ตลาดเงินตราต่างประเทศ และอัตราแลกเปลี่ยน
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาด ( MARKET ).
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีนีโอคลาสสิค

ผู้เสนอทฤษฎีนี้คือ กอตฟรีต์ ฮาร์เบอเลอ ( GOTTFRIED HARBERIER ) ใช้แนวคิดทฤษฎีต้นทุนค่าเสียโอกาส (OPPORTUNITY COST THEORY ) PRODUCTiON POSSIBILITY CURVE เส้นเป็นไปได้ในการ ผลิตและเส้นความพอใจเท่ากัน ( INDIFERENT CURVE )

OPPORTUNITY COST หมายถึง ต้นทุนการผลิตสินค้าชนิดหนึ่ง ที่สละเพื่อนำมาผลิตสินค้าอีกชนิดหนึ่ง ในการค้าระหว่างประเทศ ประเทศจะผลิตสินค้าและส่งออก สินค้าที่ตนเสียต้นทุนค่าเสียโอกาสในการผลิตน้อยที่สุดและ นำเข้าสินค้าที่ตนเสียต้นทุนค่าเสียโอกาสมากที่สุด

ลักษณะเส้นเป็นไปได้ในการผลิต 1. ต้นทุนค่าเสียโอกาสคงที่ ( CONSTANT OPPORTUNITY COST ) 2. ต้นทุนค่าเสียโอกาสเพิ่มขึ้น ( INCREASING OPPORTUNITY COST ) 3. ต้นทุนค่าเสียโอกาสลดลง ( DECREASING OPPORTUNITY COST )

ผลได้จากการค้าระหว่างประเทศ แบ่งเป็น 1. ผลได้จากการแลกเปลี่ยน ( gains from exchange ) 2. ผลได้จากความชำนาญเฉพาะอย่าง ( gains from specialization )

เส้นเสนอซื้อขาย ( offer curve ) หรือเส้นอุปสงค์ตอบสนอง ( reciprocal demand curve ) คือ เส้นที่แสดงถึงปริมาณสินค้าที่ประเทศหนึ่งต้องการเสนอซื้อ และปริมาณสินค้าที่ต้องการเสนอขายในอัตราส่วนราคาต่าง ๆ กัน