ค 32213 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม เส้นทางออยเลอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

จัดทำโดย นางวรวรรณ ชะโลธาร
แนวเดินและกราฟออยเลอร์
นางสาวนภัสญาณ์ ไก่งาม
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์
ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ความต่อเนื่อง (Continuity)
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
พระวาจา ทรง ชีวิต มกราคม 2008.
ต้นไม้และนิยามที่เกี่ยวข้อง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Application of Graph Theory
Two men are located at opposite ends of a mountain range (in Tibet or elsewhere), at the same elevation. If the mountain range never drops below this.
กราฟถ่วงน้ำหนัก เสนอต่อ อ.ธรรมนูญ ผุยรอด จัดทำโดย
การนำทฤษฎีกราฟมาใช้ในด้าน
หน่วยที่ 15.
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
บทพิสูจน์ต่างๆทางคณิตศาสตร์
Function and Their Graphs
ประวัติ นักคณิตศาสตร์
AUTONOMOUS SYSTEMS (AS)
DATA STRUCTURE IN C กราฟ (Graph).
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การรับและแสดง ข้อมูล ง การเขียนไดนามิกเว็บ เพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การแสดงคำสั่ง HTML และตัวแปร ง ไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การทำซ้ำด้วย คำสั่ง for ง การเขียนได นามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การสร้างตาราง ง40205 การเขียนเว็บไซต์สไตล์ ป.พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่ง for ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ต้นไม้กระจายทั่วกราฟ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
วิชา คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ เรื่อง เซต
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
การใช้คำสั่งเงื่อนไข
เกมส์ทางคณิตศาสตร์.
School of Information Communication Technology,
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
การกำหนดเทคนิคให้กับสไลด์
Introduction TO Discrete mathematics
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
ความชันและสมการเส้นตรง
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
การพิมพ์ตารางออกทางเครื่องพิมพ์
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
กราฟเบื้องต้น.
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การสื่อสาร ข้อมูล. การติดต่อสื่อสารเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นควบคู่มากับ มนุษย์ เนื่องจากมนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เป็นก้อน โดยมนุษย์ใช้ภาษาเป็นสื่อในการส่ง.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
การหาเส้นทางที่สั้นที่สุด
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม เส้นทางออยเลอร์

เส้นทางออยเลอร์ (euler path) ในปี ค. ศ. 1736, L. Euler ได้รับยก ย่องว่าเป็นบิดาของทฤษฎีกราฟ เมื่อ เขาพิสูจน์ได้ว่าสะพานทั้ง 7 แห่งใน เมือง konigsberg ไม่สามารถเดินข้าม ได้หมดได้โยใช้ทางเดินเพียงครั้ง เดียว

รูปสะพานในเมือง konigsberg

กราฟจำลอง C A D B

นิยาม 4.18 ทางเดินแบบ euler (euler path) ของกราฟใดๆ G คือทางเดินที่ แต่ละเส้นโยงของ G บน ทางเดินนั้นปรากฎอยู่เพียง ครั้งเดียว

นิยาม 4.19 วงรอบแบบ euler (euler circuit) ของกราฟใดๆ G คือรอบ ทางเดินที่แต่ละเส้นโยงของ G บนทางเดินนั้นปรากฎอยู่ เพียงครั้งเดียว

สิ่งที่เน้นของออยเลอร์ วงรอบแบบ euler (euler circuit) ของกราฟใดๆ G จะเน้นที่ จะต้องผ่านเส้นเชื่อมเพียงครั้ง เดียว

ทฤษฎี 4.4 กราฟ G เป็นกราฟที่ไม่มีลูกศร และมีทางเดินแบบ Euler สำหรับทุกเส้นโยง ถ้าและ เพียงถ้า G เป็นกราฟที่ต่อถึง กัน และไม่มีจุดที่มีดีกรีเป็น เลขคี่ หรือมีแค่ 2 จุดที่มีดีกรี เป็นเลขคี่

ทฤษฎีย่อย 4.2 กราฟ G เป็นกราฟที่ไม่มีลูกศร G มีรอบทางเดินแบบ Euler ถ้า และเพียงถ้าทุกจุดของ G มี ดีกรีเป็นเลขคู่และเป็นกราฟ ต่อเนื่องถึงกัน

ทฤษฎีที่ 4.5 กราฟ G เป็นกราฟที่มีลูกศร G มีรอบทางเดินแบบ Euler ถ้า และเพียงถ้าทุกจุดของ G มี จำนวนเส้นโยงที่มีลูกศรเข้า และออกเท่ากันและเป็นกราฟ ต่อเนื่องถึงกัน

ทฤษฎีที่ 4.6 กราฟ G เป็นกราฟที่มีลูกศร และมี n จุด G มีรอบทางเดิน แบบ Euler ถ้าและเพียงถ้าทุก G เป็นกราฟต่อเนื่องถึงกัน n-2 จุดของ G มีลูกศรเข้าและออก เท่ากัน และมีเพียง 2 จุดที่ จำนวนเส้นโยงที่มีลูกศรเข้า ต่างจากจำนวนลูกศรออกอยู่ หนึ่ง