โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก จัดทำ โดย ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน เลขที่ 8 ด. ช. ต่อศักดิ์ ถาน้อย เลขที่ 9.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์การและระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
องค์ประกอบของสำนักงานสมัยใหม่
ความสำคัญของการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
วิชา การจัดการข้อมูล (Data Management) 3(2-2-5) บทที่ 3
เศรษฐกิจพอเพียง.
ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
COMPUTER.
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
เครือข่ายสังคมออนไลน์
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
บทที่ 8 การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
Logistics Logistics เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร การเคลื่อนย้ายและการเก็บวัตถุดิบ สินค้าระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากจุดกำเนิด.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ไม่ทราบหรอกว่าข้อมูลเกี่ยวกับตัวเขาได้ถูกเก็บรวบรวมโดยบริษัท เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับความถี่ของการซื้อ ประเภทของการซื้อ และวิธีจ่ายเงิน การทำเช่นนี้ก็เพื่อช่วยบริษัทในการผลิตและการตลาด.
ในอดีตการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และการใช้น่าจะเป็นเรื่องที่ ยาก หรืออาจจะไม่จำเป็นต้องเข้าถึง เลย เพราะวิถีชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ และ เป็นประจำ จนถึงยุคที่การทำงานเป็น.
ได้กล่าวว่า ในระดับบุคคลข่าวสารที่ ได้จากระบบ ช่วยทั้งในแง่ ส่วนตัวและวิชาชีพ ในระดับองค์การ การจะมีส่วนช่วยองค์การให้มี ประสิทธิภาพจะมีผลกระทบต่อกล ยุทธ์และความสำเร็จขององค์การ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี + สารสนเทศ.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
Computer Application in Customer Relationship Management
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
IS กับ IT IS ต้องอาศัย IT
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
เรื่องเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน
ใบความรู้ เรื่อง สื่อสารสนเทศในแบบต่างๆ
บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์การ
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2) นก. (Computer Network System) โดย อ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร Chapter 1 Introduction.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
Information Technology : IT
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศทางการตลาดและความสำคัญ
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
นางสาววราภรณ์ จันปัญญา สาธารณสุขชุมชน 1 รหัส
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทบาทของข้อมูลการตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภค (CONSUMER BEHAVIOR)
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
การวัดการวิจัยในการตลาด
จัดทำโดย ด. ช. กิตติพงษ์ ตากาศ เลขที่ 7 ม.1/8 ด. ช. สุริยะกูล ทวีสุข เลขที่ 6 ม.1/8.
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
จัดทำโดย ด. ช. ต่อสักดิ์ ถาน้อย ม.1/4 เลขที่ 9 ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน ม.1/4 เลขที่ 8 ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆได้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
จัดทำโดย ด. ช. สินชัย พรมสินชัย เลขที่ 3 ม.1/2 ด. ญ. ภาณุมาศ ไชยวงค์ เลขที่ 14 ม.1/2.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก จัดทำ โดย ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน เลขที่ 8 ด. ช. ต่อศักดิ์ ถาน้อย เลขที่ 9

 1. คอมพิวเตอร์ (Computer) ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไปจาก ยุคแรกที่เครื่องมีขนาดใหญ่ทำงานได้ช้า ความสามารถต่ำ และใช้ พลังงานสูง เป็นการใช้เทคโนโลยีวงจรรวมขนาดใหญ่ (Very Large Scale Integrated Circuit, VLSI) ในการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ทำให้ประสิทธิภาพของส่วนประมวลผลของเครื่อง พัฒนาขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนา หน่วยความจำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นแต่มีราคาถูกลง ซึ่งช่วยเพิ่ม ศักยภาพในการทำงานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปัจจุบัน โดยที่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในขณะนี้มีความสามารถเท่าเทียมหรือ มากกว่ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่  2. ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence ; AI) เป็นการพัฒนาระบบ คอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถที่จะคิดแก้ปัญหา และให้เหตุผลได้ เหมือนอย่างการใช้ภูมิปัญญาของมนุษย์จริงปัจจุบันที่ นักวิทยาศาสตร์ในหลายสาขาวิชาได้ศึกษา และทดลองที่จะพัฒนา ระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานที่มีเหตุผล โดยการเลียนแบบ การทำงานของสมองมนุษย์  3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information System ; EIS) เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศที่สนับสนุนในงานระดับ วางแผนนโยบายและกลยุทธ์ขององค์การ โดยที่ EIS จะถูกนำมาให้ คำแนะนำผู้บริหารในการตัดสินใจ เมื่อประสบปัญหาแบบไม่มี โครงสร้างหรือกึ่งโครงสร้าง โดย EIS เป็นระบบที่พัฒนาขึ้น

 แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นที่กล่าวถึงกันมาก ดังนี้  1) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจาก สังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ สภาพของ สังคมโลกได้เปลี่ยนแปลงมาแล้วสองครั้ง จากสังคม ความเป็นอยู่แบบเร่ร่อนมาเป็นสังคมเกษตรที่มีการ เพาะปลูกและสร้างผลิตผลทางการเกษตร ทำให้มีการ สร้างบ้านเรือนเป็นหลักแหล่ง ต่อมามีความจำเป็นต้อง ผลิตสินค้าให้ได้ปริมาณมากและต้นทุนถูก จึงต้องหันมา ผลิตแบบอุตสาหกรรม ทำให้สภาพความเป็นอยู่ของ มนุษย์เปลี่ยนแปลงมาเป็นสังคมเมือง มีการรวมกลุ่มอยู่ อาศัยเป็นเมือง มีอุตสาหกรรมเป็นฐานการผลิต สังคม อุตสาหกรรมได้ดำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน และเข้าสู่ สังคมสารสนเทศ การดำเนินธุรกิจใช้สารสนเทศอย่าง กว้างขวาง เกิดคำใหม่ว่า ไซเบอร์สเปซ  2) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีแบบ ตอบสนองตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน เช่น การ ดูโทรทัศน์ วิทยุ เมื่อเราเปิดเครื่องรับโทรทัศน์หรือวิทยุ เราไม่สามารถเลือกตามความต้องการได้ หากไม่พอใจก็ ทำได้เพียงเลือกสถานีใหม่ แนวโน้มจากนี้ไปจะมีการ เปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เรียกว่า on demand เราจะมี โทรทัศน์และวิทยุแบบเลือกดู เลือกฟังได้ตามความ ต้องการ หากระบบการศึกษาจะมีระบบ education on demand คือสามารถเลือกเรียนตามต้องการได้ การ ตอบสนองตามความต้องการ เป็นหนทางที่เป็นไปได้ เพราะเทคโนโลยีมีพัฒนาการที่ก้าวหน้าจนสามารถนำ ระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความต้องการของมนุษย์

 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดสภาพการทำงานแบบทุกสถานที่ และ ทุกเวลา เมื่อการสื่อสารก้าวหน้าและแพร่หลายขึ้น การโต้ตอบผ่านเครือข่าย ทำให้มีปฏิสัมพันธ์ได้ เกิดระบบการประชุมทางวีดิทัศน์ ระบบประชุมบน เครือข่าย ระบบโทรศึกษา ระบบการค้าบนเครือข่าย ลักษณะของการ ดำเนินงานเหล่านี้ ทำให้ผู้ใช้ขยายขอบเขตการดำเนินกิจกรรมไปทุกหนทุก แห่งตลอด 24 ชั่วโมง เราจะเห็นจากตัวอย่างที่มีมานานแล้ว เช่น ระบบ เอทีเอ็ม ทำให้การเบิกจ่ายได้เกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกล้ตัว ผู้รับบริการมากขึ้น และด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้น การบริการจะกระจาย มากยิ่งขึ้นจนถึงที่บ้าน ในอนาคตสังคมการทำงานจะกระจายจนงานบางงาน อาจนั่งทำที่บ้านหรือที่ใดก็ได้ และเวลาใดก็ได้  4) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบท้องถิ่น ไปเป็นเศรษฐกิจโลก ระบบเศรษฐกิจซึ่งแต่เดิมมีขอบเขตจำกัด ภายในประเทศ ก็กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก ทั่วโลกจะมีกระแสการหมุนเวียน แลกเปลี่ยนสินค้า บริการอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว เทคโนโลยีสารสนเทศ มีส่วนเอื้ออำนวยให้การดำเนินการมีขอบเขตกว้างขวางมากยิ่งขึ้น ระบบ เศรษฐกิจของทุกประเทศในโลกเชื่อมโยงและมีผลกระทบต่อกัน  5) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน หน่วยงานภายในเป็นแบบเครือข่ายมากขึ้น แต่เดิมการจัดองค์กร มีการวางเป็นลำดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่เมื่อ การสื่อสาร แบบสองทางและการกระจายข่าวสารดีขึ้น มีการใช้ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กรผูกพันกันเป็น กลุ่ม งาน มี การเพิ่มคุณค่าขององค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัด โครงสร้างขององค์กรจึงปรับ เปลี่ยน จากเดิม และมีแนวโน้มที่ จะสร้างองค์กรเป็นเครือข่ายที่มีลักษณะการบังคับบัญชาแบบ แนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับ หน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย โครงสร้างขององค์กรจึงเปลี่ยนแปลง ไปตามกระแสของเทคโนโลยี

 รูปภาพเปรียบเทียบระหว่างยุ กค์อตีตกับปัจจุบัน

 ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศได้มีบทบาทที่ สำคัญต่อวิถีชีวิตและสังคมของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศได้ สร้างการ เปลี่ยนแปลงและโอกาสให้แก่องค์การ เช่นเปลี่ยน โครงสร้างความสัมพันธ์และการแข่งขันในอุตสาหกรรม ปรับ โครงสร้างการดำเนินงานขององค์การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และบริการ เป็นต้นเนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดรูปแบบ ใหม่ในการติดต่อสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำให้มีการ พัฒนาและกระจายตัวของภูมิปัญญา ซึ่งต้องอาศัยบุคคลที่มีความรู้ และความเข้าใจในการใช้งานเทคโนโลยี โดยที่ผู้บริหารจะต้อง เตรียมความพร้อมสำหรับองค์การดังต่อไปนี้  1. ทำความเข้าใจต่อบทบาทของเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีต่อธุรกิจปัจจุบัน  2. ระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการ ข้อมูลขององค์การ  3. วางแผนที่จะสร้างและพัฒนาระบบ

 1. ทำความเข้าใจต่อบทบาทของเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีต่อธุรกิจปัจจุบัน เพื่อให้สามารถนำ ความรู้ต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้กับงานที่กำลังทำอยู่ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและศักยภาพในการ แข่งขันขององค์การ เช่น การนำเอาคอมพิวเตอร์เข้า มาช่วยในระบบคลังสินค้าของบริษัท 2. ระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการ ข้อมูลขององค์การนักวิเคราะห์ระบบและผู้ใช้จะ ศึกษาหรือพิจารณาถึงข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ที่ องค์การต้องการและใช้ในการดำเนินงานอยู่เป็นประจำ เพื่อที่จะทำการรวบรวม และจัดระเบียบเก็บไว้ในระบบ สารสนเทศ 3. วางแผนที่จะสร้างและพัฒนาระบบ เพื่อให้การ ดำเนินการสร้างหรือพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ขององค์การภายใต้งบประมาณและ ระยะเวลาที่กำหนดไว้ การวางแผนถือเป็นสิ่งที่สำคัญ

 ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้บูรณาการเข้า สู่ระบบธุรกิจ ดังนั้นองค์การที่จะอยู่รอดและมี พัฒนาการต้องสามารถปรับตัวและจัดการกับ เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม ดังต่อไปนี้  1. คอมพิวเตอร์ (Computer)  2. ปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) หรือ AI  3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (executive information system) หรือ EIS  4. การจดจำเสียง (voice recognition)  5. การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (electronics data interchange) หรือ EDI  6. อินเทอร์เน็ต (internet)  7. ระบบเครือข่าย (networking system)  8. การประชุมทางไกล (teleconference)

 ซัมซุง ฮีโร่ ไอโฟน