ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
Advertisements

กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
การกระทำทางสังคม (Social action)
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
การประชุมมอบนโยบายด้านคุณภาพของนักเรียน
การจัดระเบียบทางสังคม
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่อย่างเป็นระบบ (The Civil Service Academy)
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
Social Organization เพื่อควบคุมแบบแผนแห่งพฤติกรรมของมนุษย์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
“การพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ร่วมโครงการฯ ให้เกิดความเข้มแข็ง”
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมทางสังคม
กลุ่มในองค์การ Group in Organization
การนำนโยบายจรรยาบรรณ ลงสู่การปฏิบัติในระดับคณะ/หน่วยงาน
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
มาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม ของ ผู้ตรวจราชการและหน่วยงานที่รับการตรวจราชการ สุรศักดิ์ แสงอร่าม รองเลขาธิการ ส.ป.ก. 21 ต.ค
ความรับผิดชอบ ในวิชาชีพ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
การบริหารราชการแผ่นดิน
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสว่าง โรงเรียนวังไกลกังวล
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายสาธารณสุข
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ความหมายของวัฒนธรรมองค์การ
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
แนวคิดเกี่ยวกับวินัยและการลงโทษ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กฎหมาย ระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิต
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สถาบันทาง สังคม ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิของพลเมืองไทย ตามรัฐธรรมนูญ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า การจัดระเบียบทางสังคม ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจการจัดระเบียบทาง สังคมและปฏิบัติตนได้อย่าง เหมาะสม

การจัดระเบียบทางสังคม ความหมาย กฎเกณฑ์และระเบียบแบบแผนที่เกี่ยวข้อง กับความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและกลุ่ม เพื่อการดำรงอยู่ของสังคม

  กลุ่ม หมายถึง บุคคลตั้งแต่ 2 คน หรือมากกว่านั้น ซึ่งอาจมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมร่วมกัน

องค์ประกอบ 1.บรรทัดฐานหรือปทัสถาน (Norms) - วิถีประชา (folkways) - จารีตประเพณี (mores) - กฎหมาย (laws) 2.การควบคุมทางสังคม (Social control) 3.สถานภาพ (Status)

บรรทัดฐานหรือปทัสถาน (Norms) กฎ กติกา มารยาท ระเบียบ แนวทาง การปฏิบัติตนให้เหมาะสมสำหรับ การอยู่ร่วมกันในสังคม มาตรฐานที่กำหนดว่าอะไรถูก อะไรผิด ควรกระทำ ไม่ควรกระทำ

การจัดระเบียบทางสังคม แนวทางการดำเนินชีวิตประจำวัน ของคนในสังคมนั้นที่ปฏิบัติกันมาจนเคยชิน

การจัดระเบียบทางสังคม การแต่งกาย การไหว้

จารีตประเพณี กฏเกณฑ์ข้อห้ามที่กระทบ ต่อความเชื่อทางศีลธรรม

การจัดระเบียบทางสังคม

กฎหมาย ข้อบังคับอย่างเป็นทางการเพื่อควบคุมพฤติกรรมคนในสังคม มีองค์กรของรัฐเป็นผู้ควบคุม โดยกำหนดรายละเอียดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรและมีบทลงโทษผู้ฝ่าฝืนอย่างชัดเจน

การจัดระเบียบทางสังคม โรงพัก ศาล เรือนจำ

การควบคุมทางสังคม (Social control) 1.การให้รางวัลและการลงโทษ 2.การอบรมปลูกฝังจนเกิดจิตสำนึก ในการควบคุมตนเอง

สถานภาพ (Status) ตำแหน่งและฐานะที่ได้จากการเป็นสมาชิก ของสังคม 1.สถานภาพโดยกำเนิด 2.สถานภาพสัมฤทธิ์หรือสถานภาพที่ได้มาภายหลัง

การจัดระเบียบทางสังคม สถานภาพกับบทบาท สถานภาพกับการเลื่อนชั้นทางสังคม

รูปแบบการจัดระเบียบทางสังคม 1.แบบเครือญาติ 2.แบบนายกับบ่าว 3.แบบสถานภาพ 4.แบบพันธะสัญญา 5.แบบระบบราชการ