ENL 3701 Unit 7 ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ม เรียน
ลักษณะการอ่านเบื้องต้น หรือระยะเริ่มเรียน Beginning Reading (in English) Beginners in Reading – นักเรียนในชั้น ประถมหรือมัธยม ต้น – ผู้ใหญ่ที่เริ่มต้น เรียน ภาษาต่างประเทศ เป็นครั้งแรก Learning to Read Reading to Learn
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาการ อ่าน ในระยะเริ่มเรียน ๑. กลไกของการอ่าน (Mechanics of reading) 1. Eye-movements ( การใช้สายตา ) – 2. Auditory discrimination( การเฟ้น จำแนกทางการฟังเสียง )) –3. Visual discrimination ( การเฟ้น จำแนกทางการมองเห็น ) –4. Associative learning( การเชื่อมโยง ทางการเรียนรู้ )
๒. ความเข้าใจการอ่าน (Comprehension) ๑. สติปัญญา ๒. การรับรู้คำ ๓. อัตราความเร็ว ในการอ่าน ๔. การเรียนรู้ คำศัพท์ ๕. สมาธิในการ อ่าน
๓. นิสัยในการอ่าน ( Reading Habits) ๑. การวิเคราะห์คำมากเกินไป (Excessive word analysis) ๒. การรับรู้คำช้า (Slowness in word recognition) ๓. การทำปากขมุบขมิบและออก เสียงในใจ (Lip movement and subvocal reading )
นิสัยในการอ่าน ( ต่อ ) ๔. การใช้มือชี้คำและโคลง ศรีษะเวลาอ่านหนังสือ ๕. การกวาดสายตากลับเมื่อ ขึ้นบรรทัดใหม่ (Return sweep) ๖. การอ่านย้อนกลับ (Regression)
ขอบข่ายของปัญหา พื้นฐานการอ่าน ในระยะเริ่มเรียน ๑. การใช้ความคิดรวบยอด (Conceptualization) –Verbal mediation and expression –Visual-verbal association – ปัญหาด้านการใช้ความคิดรวบยอด ความเข้าใจคำศัพท์เฉพาะ ธรรมชาติ และจุดมุ่งหมายในการอ่าน ความเข้าใจหน่วยเสียงที่แยกกัน อยู่และ ความสัมพันธ์ของหน่งยภาพ การเรียกชื่อสิ่งของ (Labeling) การใช้เหตุผลอ้างอิงหรือตีความ
๒. การเรียนรู้ภาษา (Language acquisition) ๑. คำศัพท์ (Vocabulary) ๒. ความเข้าใจโครงสร้าง ภาษา (Syntactic structure) ๓. การใช้คำพูด (Speech)
๓. การใช้กลไกทางร่างกาย ในการอ่าน (Psychomotors in reading) การใช้ประสาทสัมผัสในการรับ ความรู้สึก (Sensory motor) การใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ (Conceptual motor Language functioning) การใช้ภาษา (Language functioning)
สาเหตุสำคัญของปัญหา การอ่าน ๑. ทางกายภาพ Neurological factors ๒. ทางจิตภาพ Cognitive style –Focal attention –Breadth of meaning –Equivalence range –Leveling and sharpening
สาเหตุของปัญหาการอ่าน ( ต่อ ) ๓. การพัฒนาการทางภาษาและ สิ่งแวดล้อมทางสังคม – การสังเกตพฤติกรรม – ๑. ความชัดเจนในการแสดง ความคิดเห็น – ๒. การพูดที่เป็นประโยคสมบูรณ์ – ๓. รุปแยยประโยคพื้นฐาน – ๔. ภาษาถิ่น
พัฒนาการทางอารมณ์ และสังคม การตรวจสอบพฤติกรรม ๑. การทำงานร่วมกับคนอื่น ๒. การรับและการให้ในการเล่มกม และกิจกรรมอื่นๆ ๓. การทำงานโดยอิสระ๖. ความ หวาดกลัวต่อ สิ่งแวดล้อม ๔. การอยู่ตามลำพัง๗. การ ควบคุมตนเอง ๕. ความสดชื่นร่าเริง
ทางเลือกและวิธีแก้ปัญหาการ อ่าน ๑. การสร้างนิสัยและทักษะการอ่านที่ดี ๒. ความสนใจการอ่าน ๓. การสร้างเสริมความเข้าใจการอ่าน - การขยายวงคำศัพท์ - การค้นหาความหมายคำจากบริบท - การปรับโครงสร้างและความยากของ คำ - เพิ่มพูนประสบการณ์จากการฟัง การ ทัศนศึกษาและการอ่าน -- ผู้สอนสำรวจและ ประเมินผลการสอนของตัวเอง