ความชันและสมการเส้นตรง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น อ.สุรัชน์ อินทสังข์ ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต. ขอต้อนรับเข้าสู่ สาระที่ 3 เรขาคณิต.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Points, Lines and Planes
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
การประยุกต์ใช้อนุพันธ์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Function and Their Graphs
คำศัพท์บทที่ 1 เสนอ อาจารย์ชัยสิทธิ์ พงพัฒน จัดทำโดย นางสาวมานิตา จันแก่น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 เลขที่ 22 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย พิษณุโลก.
Quadratic Functions and Models
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การแจกแจงปกติ.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
วิทยาลัยการอาชีพบัวใหญ่
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
วงรี ( Ellipse).
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
การสะท้อนแสงของผิวโค้ง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความชันและสมการเส้นตรง

สมาชิก นายไชยยันต์ ไกรนรา เลขที่ 3 นาย ณัฐพงษ์ สมสอน เลขที่ 5 นาย สิทธิโชค ชูวัจนะ เลขที่ 10 นางสาว จรณินทร์ หลีทศรัตน์ เลขที่ 16 นางสาว อารีรัตน์ คงมั่น เลขที่ 26 นางสาว นิภาธร มากยอด เลขที่ 30

ความชัน ในทางคณิตศาสตร์ ความชันของเส้นตรงบอกถึงความสูงชัน ความลาดเอียง หรือ ระดับ ค่าความชันยิ่งมากแสดงถึงความสูงชัน ความลาดเอียงที่มากขึ้น ความชันนิยามตามอัตราของ"การยก"หารด้วย"การเคลื่อนที่"ระหว่างจุดสองจุดบนเส้น หรืออัตราส่วนสูงที่เปลี่ยนแปลงต่อระยะทางตามแนวนอนระหว่างสองจุดใดๆบนเส้น ให้สองจุดนั้นเป็น (x1,y1) และ (x2,y2) บนเส้นตรง ความชัน m ของเส้นตรงเป็น ด้วยวิธีแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์สามารถคำนวณความชันของเส้นสัมผัสจนถึงเส้นโค้งที่จุดๆหนึ่งได้ แนวคิดเรื่องความชันสามารถประยุกต์ในระดับหรือความชันในภูมิศาสตร์และวิศวกรรมโยธา ด้วยวิธีตรีโกณมิติ ระดับ m ของถนนที่งมุมลาดเอียง θ

สมการของเส้นตรง 1. สมการของเส้นตรงที่ขนานกับแกน x หรือ แกน y สมการของเส้นตรง  1. สมการของเส้นตรงที่ขนานกับแกน   x   หรือ แกน   y  ให้  L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน  x จะเห็นได้ว่าจุดต่าง ๆ ที่อยู่บนเส้นตรง  L  จะมีพิกัดที่  2  เท่ากันหมด ถ้าพิกัดที่  2  เป็น b จะได้ว่า“จุด  (x,y) ที่เป็นจุดบนเส้นตรง    L ก็ต่อเมื่อ   y  = b” เส้นตรง  L จะเป็นกราฟของความสัมพันธ์ r ที่นิยามว่า r =  {(x,y)|y  =  b}    หรือเส้นตรงที่มีสมการเป็น  y  =  b    

2. สมการของเส้นตรงแบบจุดและความชัน 2. สมการของเส้นตรงแบบจุดและความชัน  ถ้าให้  L  เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (x1,y1)  และมีความชัน  =  m ให้  (x,y)  เป็นจุดใด ๆ บนเส้นตรง  L จากนิยามความชันได้ว่า ความชันของ  L = แต่กำหนดให้ความชันของ L เท่ากับ m  ดังนั้น    m   =  นั่นคือ y – y1  =  m(x – x1)  เป็นสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด    (x1,y1)  และมีความชันเท่ากับ   m

3. สมการของเส้นตรงแบบจุดสองจุด ถ้าให้    L   เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด  P1(x1,y1) และ P2(x2,y2)  ถ้า  x1 ≠ x2  เพราะฉะนั้นความชันของ  P1P2เท่ากับ ซึ่งจะเท่ากับความชันของเส้นตรง   L แทนค่าในสมการเส้นตรงแบบจุดและความชัน  จะได้     y – y1  =         (x – x1)   ถ้า  x1  =  x2 แล้วเส้นตรง  L จะขนานกับแกน  yเส้นตรง L จะมีสมการเป็น   x  =  x1

4. สมการของเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน 4. สมการของเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน     วิธีการหาจุดตัดแกน  x  ทำได้โดยการให้  y  =  0  ในสมการแล้วแก้สมการหาค่า x ทำนองเดียวกัน  การหาจุดตัดแกน  y ทำได้โดยการให้ x  =  0  ในสมการแล้วแก้สมการหาค่า  y เช่น  สมการ   2x + 7y – 6 = 0 ให้  y  =  0 เพราะฉะนั้น x  =  3 นั่นคือ   จุดตัดแกน   x ของกราฟ  คือ  3  สมมุติให้   L  เป็นเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ  m  และมีจุดตัดแกน  y เท่ากับ  b      

5. สมการของเส้นตรงแบบจุดตัดแกน ให้  L เป็นเส้นตรงที่มีจุดตัดแกน x เท่ากับ a และจุดตัดแกน y  เท่ากับ  b ; a ≠ 0  และ b  ≠  0  แสดงว่า    L   เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด (a,0) และ (0,b) ความชันของเส้นตรง L  คือ m  =  = - สมการของเส้นตรง  L คือ   y   =  -  x + b    ay   =   - bx +  ab =   1 

 สมการเชิงเส้น สมการเชิงเส้น คือ สมการที่อยู่ในรูป Ax + By + C = 0 เมื่อ A,B และ C เป็นจำนวนจริง ที่ A และ B จะเท่ากับ 0 พร้อมกันทั้งสองตัวไม่ได้ โลกัสของสมการเชิงเส้น คือ เส้นตรง พิสูจน์ จากสมการเชิงเส้น Ax + By + C = 0 ถ้า B = 0 แล้ว A ≠ 0 หารทั้งสองข้างของสมการด้วย A สมการจะเป็น x = - ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงที่ขนานกับแกน y

ถ้า B ≠ 0 แล้วหารทั้งสองข้างของสมการด้วย B สมการจะเป็น y = - x - ซึ่งเป็นสมการเส้นตรงแบบความชันและจุดตัดแกน  เมื่อ m  =  - และ  b  =  -         

ประโยชน์ที่นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน 1. การตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ ครอบคลุมช่วงการใช้งาน 2. การหาความเที่ยงของการวัด ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ ครอบคลุมช่วงการใช้งาน ต้องหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากการวัดตัวอย่างแต่ละความเข้มข้นซ้ำ หากส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีความสัมพันธ์เชิงเส้นกับความเข้มข้น 3.การวิเคราะห์หาปริมาณสารในตัวอย่าง ที่วัดโดยเครื่องมือ สัญญาณที่วัดจากเครื่องมือคํานวณเป็นปริมาณสารโดย เทียบกับกราฟมาตรฐาน

จบการนำเสนอ