จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
Advertisements

ลักษณะของครูที่ดี.
ตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี
ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
กิจกรรมส่งเสริมเอกลักษณ์ของชาติ ตามโครงการ “ธงไตรรงค์ ธำรงไทย” จังหวัดตราด ตามที่จังหวัดตราด โดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตราด ได้ดำเนินการโครงการ“ธงไตรรงค์
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
การมอบนโยบายและบรรยายเรื่องทิศทางประเทศไทยในมิติวัฒนธรรมภายใต้แผนปรองดองแห่งชาติ โดย นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม วันจันทร์ที่
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
รอบรู้อาเซียน.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
โครงสร้างสังคมไทย โครงสร้างสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มคนที่มีบรรทัดฐานของสังคมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้คนมาอยู่รวมกันเป็นสังคม อย่างสันติสุข.
แนวคิด ในการดำเนินงาน
ข้อควรรู้เพิ่มเติม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
แผนปฏิบัติการยะลาเข้มแข็ง ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 8 : การรักษาความมั่นคงของรัฐ.
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
ความก้าวหน้าการจัดทำแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
ดร.สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก.พ. สำนักงาน ก.พ.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ความคาดหวังของการส่งเสริมวินัยและจริยธรรมข้าราชการ กรมอนามัย
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
เพื่อความเป็นพลเมือง (Civic Education)
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
- อาจารย์ - บุคลากร - นักศึกษา ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท งานวิจัยตามพันธกิจ และอัตลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
นำเสนอโดย นาย เจษฎาภรณ์ อยู่แก้ว ปวช.1 ช่างยนต์ กลุ่ม.4 เลขที่.3 “ สมานฉันท์ ” จากความขัดแย้ง ทางการเมืองในปัจจุบัน.
กลยุทธ์การขับเคลื่อน งานพัฒนาชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประจำปี ๒๕๕๖
เสวนาพาเพลิน อปท. กับ รางวัลพระปกเกล้า
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
อาจารย์สันติ อภัยราช อาจารย์ ๓ ระดับ ๙ นิติศาสตรบัณฑิต การศึกษาบัณฑิต
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
อุดมการณ์ และจิตวิญญาณ ของความเป็นครู.
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19 สร้างความสมานฉันท์ จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19

ปรองดอง สมานฉันท์ ปรองดอง สมานฉันท์ สร้างสรรค์ชาติ             ปัญหาความแตกแยกในสังคมไทยที่นับวันจะทวีความรุนแรงและขยายวงกว้างขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และอาจมีผลต่อความเชื่อมั่นของต่างประเทศที่มีต่อประเทศไทย จำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนชาวไทยทุกภาคส่วนจะต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนวิกฤตการณ์ครั้งยิ่งใหญ่นี้

ความสมานฉันท์ ด้วยการร่วมสร้างสรรค์สังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งความสมานฉันท์ ด้วยการเสริมสร้างแนวความคิดในการเคารพซึ่งความแตกต่างทางความคิด ความแตกต่างทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ ศาสนา ร่วมกันฟื้นฟูกระบวนการหล่อหลอมคุณธรรม จริยธรรม การเสียสละเพื่อส่วนรวมและติดสำนึกสาธารณะ ประกอบกับการเสริมสร้างวัฒนธรรมแห่งสันติวิธีที่

ความสมานฉันท์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักคุณธรรม ร่วมกันสร้างชุมชนเข้มแข็งที่มีความพร้อมและมีศักยภาพในการจัดการกับปัญหาข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองได้ ก่อนที่จะลุกลาม

ใหญ่โตกลายเป็นปัญหาความขัดแย้งรุนแรงของประเทศชาติ              แนวทางสมานฉันท์ คือแนวทางของความปรองดองเห็นพ้องร่วมกัน นั่นคือ การรับฟังปัญหาเพื่อเข้าถึง รับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วน เพื่อแก้ไขให้หมดสิ้นในระยะยาว โดยไม่มุ่งเน้นการใช้ความรุนแรง แต่มุ่งสร้างความเข้าใจ ความไว้วางใจว่ารัฐจะอำนวยความยุติธรรม และความเท่าเทียมให้กับประชาชนได้

สร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย จะต้องยึดหลักการสำคัญคือ ๑. การเปิดเผยความจริง (Truth) ให้ความสำคัญกับความจริงทั้งในฐานะเครื่องมือหรือเป้าหมายของสังคมสมานฉันท์ เพื่อสร้างสันติภาพที่ยั่งยืน ขณะเดียวกันก็หาหนทางให้สังคมไทยตระหนักถึงการเปิดเผยความจริงนั้นด้วย

ความยุติธรรม(Justice) ให้ความสำคัญกับความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์(Restorative Justice) ด้วยการส่งเสริมแนวคิดวิเคราะห์ในสังคมไทย ให้เรียนรู้วิธีการมองปัญหาความรุนแรงในบริบทเชิงโครงสร้างและวัฒนธรรม ให้เล็งเห็นคนบริสุทธิ์กลุ่มต่างๆที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรง

ความพร้อมรับผิด (Accountability) ส่งเสริมระบบและวัฒนธรรมความพร้อมรับผิดในระบบราชการทุกระดับ ๔. การให้อภัย ในกรณีการปฏิบัติที่ผิดพลาดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของคู่กรณี ๕. การเคารพความหลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม ให้ความสำคัญกับขันติธรรม ในฐานะคุณค่าทางการเมือง การเรียนรู้ศาสนาต่างๆที่ดำรงอยู่ในประเทศไทย ๖. ถือสันติวิธีเป็นทางเลือกในการเผชิญความขัดแย้ง

การเปิดเผยพื้นที่ให้ความทรงจำที่เจ็บปวด ด้วยการเปิดพื้นที่ให้ข้อมูลเหล่านั้น เป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ๘. มุ่งแก้ปัญหาในอนาคตด้วยจินตนาการที่มีความเป็นไปได้และเห็นพ้องร่วมกัน ๙. การยอมรับความเสี่ยงเป็นเงื่อนไขสายสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์บนฐานแห่งความไว้วางใจ อันเป็นคุณลักษณ์สำคัญของแนวความคิดสมานฉันท์

รัฐบาลทุกสมัยต่างให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างความสมานฉันท์ของคนในชาติ ให้มีความรัก ความสามัคคี อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ภายใต้ระบบการเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข หากทุกภาคส่วนตระหนักถึงความสำคัญของการเสริมสร้างความสมานฉันท์ และพร้อมเปิดใจยอมรับแนวทางต่างๆที่หลากหลายฝ่ายนำเสนอ เชื่อมั่นว่า ๙ แนวทางข้างต้นน่าจะเป็นทางออกหนึ่งของปัญหาความแตกแยกในสังคมไทยอันจะนำไปสู่สังคมสมานฉันท์ได้ในระยะเวลาไม่นานเกินรอ

ความสมานฉันท์

ความสมานฉันท์