สถานการณ์โรคมาลาเรีย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการให้บริการวัคซีนป้องกันโรค ไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2557
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
มาตรฐานการป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ระดับจังหวัด
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ไข้เลือดออก.
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 31 กรกฏาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่ เฝ้าระวังพิเศษ จังหวัดสุรินทร์ ณ วันที่ 19 สิงหาคม 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กราฟที่ 1 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ สัปดาห์ที่ 29 ( ข้อมูลตั้งแต่ 1 มกราคม.
การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการ 333 ประชาสัมพันธ์ ปราบลูกน้ำยุงลาย มาตรการสกัดกั้นเชื้อ การควบคุมกำกับ ระบบรายงานและฐานข้อมูล การวินิจฉัยโรคที่เที่ยงตรง.
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
กลุ่มที่ 3.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน พฤษภาคม 2557 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือนพฤษภาคม 2554 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายและยุทธศาสตร์ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การป้องกันควบคุมไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ชนิดเอ เอช 1 เอ็น1 การประชุมวันที่ 19 พฤษภาคม 2552.
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
การสนับสนุนบทบาท อสม.ในการป้องกันควบคุมโรค
แผนคำของบประมาณปี 2559 โครงการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก อำเภอด่านซ้าย
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
แนวทางรณรงค์ควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกของชาติ ด้วยยุทธศาสตร์ “รวมพลัง เอาชนะไข้เลือดออก”
กลุ่มที่1 โรคติดต่อนำโดยแมลง
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ ตัวชี้วัดที่กรมควบคุมโรครับผิดชอบ ในการตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข ปี กุมภาพันธ์ 2556.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์โรคมาลาเรีย จังหวัดราชบุรี

อัตราป่วยโรคมาลาเรีย เปรียบเทียบจังหวัดราชบุรี : ประเทศ ปีพ.ศ. 2542 – 2557 ปีพ.ศ. 2557 ประเทศผู้ป่วยไทย+ต่างชาติ = 10,830 ราย ตาย 5 ราย ราชบุรี ผู้ป่วยไทย+ต่างชาติ = 413 ราย สูงกว่าปี2556 = 7 ราย (1.93%) ผู้ป่วยไทย = 178 ราย ลดลงจากปี2556 = 37 ราย (17.21%) ราชบุรี ลำดับ 8 ของประเทศ ที่มา: รง. 506 ณ 1 ธ.ค.57

อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรีย (ไทย+ต่างชาติ) จำแนกรายอำเภอ จ.ราชบุรี ปีพ.ศ. 2557 ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329 ที่มา: รง. 506 ณ 1 ธ.ค.57

สัดส่วนร้อยละผู้ป่วยมาลาเรีย เปรียบเทียบคนไทย : ต่างชาติ จังหวัดราชบุรี ปี 2553 – 2557 ปี 2557 จังหวัดราชบุรี ผู้ป่วยต่างชาติ 235 ราย ผู้ป่วยไทย 178 ราย ภาพรวมจังหวัดราชบุรี ปี 2557 อ.สวนผึ้ง ผู้ป่วยต่างชาติ 231ราย ผู้ป่วยไทย 155 ราย ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329 ที่มา: รง. 506 ณ 1 ธ.ค.57 อ.สวนผึ้ง

สัดส่วนร้อยละผู้ป่วยมาลาเรีย จำแนกรายกลุ่มอายุ จ.ราชบุรี ปีพ.ศ. 2557 ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329 ที่มา: รง. 506 ณ1 ธ.ค.57

จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย(ไทย+ต่างชาติ) จำแนกรายเดือน จังหวัดราชบุรี ปี 2557 เปรียบเทียบมัธยฐาน จำนวน (ราย) ที่มา: รง. 506 ณ 12 ธ.ค.56

จำนวนผู้ป่วยโรคมาลาเรีย จำแนกรายเดือน อำเภอสวนผึ้ง ปี 2557 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปี (2552-2556) จำนวน (ราย) ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329 ที่มา: รง. 506 ณ 12 ธ.ค.56

มาตรการดำเนินงานปี 58 1. มาตรการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรียโดยการควบคุมยุงพาหะและการป้องกันตนเอง ในกลุ่มประชากรเป้าหมาย กิจกรรมดำเนินการ - สำรวจข้อมูลการมีมุ้ง - แจกมุ้งชุบสารเคมี/ชุบมุ้งธรรมดา - พ่นสารเคมีให้มีฤทธิ์ตกค้าง ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329

2. มาตรการการสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และการขับเคลื่อนชุมชน กิจกรรมดำเนินการ -อาสาสมัครสาธารณสุขแรงงานต่างด้าว และอาสาสมัครสาธารณสุขในหมู่บ้านA1 เยี่ยมบ้านให้สุขศึกษาอย่างน้อย 20 หลังต่อเดือนทุกเดือน - จัดรณรงค์โรคมาลาเรียในหมู่บ้าน A -สำรวจประเมินพฤติกรรมเสี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นมาลาเรียในชุมชนในหมู่บ้านพื้นที่ A1 -อบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข /พนักงานมาลาเรียชุมชน /อาสาสมัครสาธารณสุข -ประชุมคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคมาลาเรียระดับจังหวัด/อำเภอ -จัดกิจกรรมขับเคลื่อนชุมชนและการรณรงค์ ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329

3.มาตรการกำจัดเชื้อมาลาเรียที่ทนต่อยารักษาในกลุ่มยาอนุพันธุ์อาร์ติมิซินินโดยการค้นหาผู้ป่วยในพื้นที่เป้าหมายและให้การรักษาหายขาดกับผู้ป่วยมาลาเรียทุกราย กิจกรรมดำเนินการ -จัดตั้งมาลาเรียคลินิคชุมชน/ชุมชนชายแดน -พนักงานมาลาเรียชุมชนตรวจและให้การรักษา -พนักงานมาลาเรียชุมชนกำกับการกินยาต่อหน้าเจ้าหน้าที่ในผู้ป่วย PF ทุกราย(Dots) -จังหวัดจัดหาเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา และวัสดุ อุปกรณ์สนับสนุนมาลาเรียคลินิคชุมชน ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329

4. มาตรการบริหารจัดการ การเฝ้าระวังโรคและการร่วมมือจากทุกภาคส่วนอย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมดำเนินการ -ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ -ประชุมประเมินผลแก้ไขปัญหาสุขภาพร่วมกับชุมชนในหมู่บ้าน -นิเทศงานในระดับอำเภอ/หมู่บ้าน/ร.ร. -เช่าสถานที่เอกชนเพื่อตั้งมาลาเรียคลินิคชุมชนชายแดน 2 แห่ง ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลงอย่างน้อยร้อยละ 5 ของปีที่ผ่านมา ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329

ปัญหา/อุปสรรค ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงA1 A2 ส่วนใหญ่เป็นชาวกระเหรี่ยง ไม่ชอบนอนในมุ้ง เมื่อได้รับแจกมุ้งมักเก็บไว้ไม่ยอมใช้ มีผู้ป่วยมาลาเรียเสียชีวิตนอกพื้นที่เสี่ยง แต่เป็นพื้นที่B (พื้นที่ที่ไม่มีการแพร่เชื้อ) ข้อมูลคนไทย รวมกับต่างชาติ /มัธยฐาน =329

สวัสดีครับ