ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
แขนกลในงานอุตสาหกรรม Industrial Robotic Arm
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การเตรียมความพร้อมข้อมูลก่อนการวิเคราะห์
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
The Development of Document Management System with RDF
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน (ดอน)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ระบบธุรกิจการป้องกันอัคคีภัย...!!!
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
นางพัชราภรณ์ หงษ์สิบสอง และผู้ช่วยศาสตราจารย์นันทา เติมสมบัติถาวร
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
Management Information Systems
Surachai Wachirahatthapong
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
4. Research tool and quality testing
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การเขียนรายงานการวิจัย
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การออกแบบระบบฐานข้อมูล
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การเขียนรายงานการวิจัย
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ขั้นตอนการเขียนปัญหาพิเศษ
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
แก้ไข.
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์ ระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์อัตโนมัติ Automatic On-line Item Analysis System ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์

ป้อนข้อมูลผลสอบด้วยมือ บทนำ สอบ ป้อนข้อมูลผลสอบด้วยมือ วิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ ปัจจุบันมีโปรแกรมช่วยวิเคราะห์ข้อสอบด้วยคอมพิวเตอร์ทำให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้นแต่การที่ต้องนำข้อมูลผลสอบมาป้อนด้วยมือทำให้การวิเคราะห์ข้อสอบใช้เวลาและแรงงานเป็นอย่างมาก ระบบวิเคราะห์ข้อสอบอัตโนมัติโดยนำผลการสอบออนไลน์มาวิเคราะห์ทำให้ลดเวลาการวิเคราะห์ข้อสอบและพัฒนาไปสู่ระบบการคลังข้อสอบได้ในอนาคต สอบ วิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์

รูปแสดงการเปรียบเทียบวงจรการวิเคราะห์ข้อสอบแบบดั้งเดิม(ซ้าย) กับแบบอัตโนมัติ (ขวา)

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการวิเคราะห์ข้อสอบออนไลน์โดยใช้ทฤษฎีการทดสอบแบบคลาสสิก (Classical Test Theory: CTT) ดังนี้คือ การวิเคราะห์ข้อสอบรายข้อเลือกเฉพาะค่าความยาก(Difficulty) ค่าอำนาจจำแนก(Discrimination) การวิเคราะห์ข้อสอบทั้งฉบับจะวิเคราะห์เฉพาะค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการ Kuder-Richardson (KR-20)

ค่าความยาก p แทน ค่าความยาก H แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงทำถูก L แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำทำถูก N แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำรวมกัน ค่า p ที่ใช้ได้ ควรมีค่าอยู่ระหว่าง .2 ถึง .8

ค่าอำนาจจำแนก (กรณีตัวเลือกถูก) ค่าอำนาจจำแนกตัวลวง (กรณีตัวเลือกผิด) r แทน ค่าอำนาจจำแนก H แทน จำนวนคนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก L แทน จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่ตอบถูก ค่า r ที่ใช้ได้ ควรมีอยู่ระหว่าง +.2 ถึง + 1.00 WH = จำนวนคนในกลุ่มสูงที่เลือกตัวลวงนั้น WL = จำนวนคนในกลุ่มต่ำที่เลือกตัวลวงนั้น NH = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มสูง NL = จำนวนคนทั้งหมดในกลุ่มต่ำ rw ควรมากกว่าหรือเท่ากับ 0.05

ค่าความเชื่อมั่น (KR-20) rtt แทน ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ k แทน จำนวนข้อของแบบทดสอบ s2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวมทั้งฉบับ p แทน สัดส่วนของคนทำถูกแต่ละข้อ q แทน สัดส่วนของคนทำผิดแต่ละข้อ (q = 1 - p) ค่าที่ใกล้ 1.0 แสดงระดับของความเชื่อมั่นที่สูง

วิธีการ ในการวิจัยครั้งนี้ใช้การวิเคราะห์และออกแบบเชิงโครงสร้าง และแผนภาพความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี (Entity Relationship Diagram: ERD) เพื่อออกแบบฐานข้อมูล ส่วนซอฟต์แวร์ที่ใช้คือภาษา PHP, JavaScript, MySQL และ Apache web server

ขั้นตอนการพัฒนา การเริ่มต้นและการวางแผน เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ซึ่งพบว่ามีเทคโนโลยีเว็บที่สนับสนุนการวิจัย เช่น PHP, MySQL, Apache web server ความต้องการและการวิเคราะห์ เป็นการรวบรวมความต้องการใช้ระบบโดยเก็บข้อมูลผู้เกี่ยวข้องในระบบการสอบทั้งอาจารย์และนักเรียน การออกแบบ เป็นการนำเอาผลการวิเคราะห์มาออกแบบระบบเริ่มจากแผนภาพบริบทและขยายไปสู่แผนภาพกระแสข้อมูลและออกแบบฐานข้อมูลด้วยแผนภาพอีอาร์ (ER diagram) การสร้างโปรแกรม โดยนำแผนภาพกระแสข้อมูลมาเขียนโปรแกรมภาษา PHP เชื่อมกับฐานข้อมูล MySQL บนเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache การทดสอบ โดยทดสอบโปรแกรมกับข้อสอบแบบปรนัย 4–5 ตัวเลือก การดำเนินงานและการบำรุงรักษา โดยนำเอาระบบมาใช้งานจริงตลอดจนตรวจสอบและปรับแต่งขณะใช้ระบบเพื่อความเหมาะสม

Context Diagram

DFD Level 0 (All)

DFD Level 0 (Difficulty)

DFD Level 0 (Discrimination)

DFD Level 0 (Reliability: KR-20)

ER-Diagram

รูปรีเลชันหลังแปลงจาก ER-diagram แล้ว

ผังงานโปรแกรมระบบการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตโนมัติ

ตัวอย่างระบบ: หน้าหลัก

ตัวอย่างระบบ: ผลการวิเคราะห์ข้อสอบ

ตัวอย่างระบบ: การแปลผลการวิเคราะห์

จบการนำเสนอ คำถาม + คำตอบ