การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ต้นทุนค่ายา วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพระแท่น ตำบลพระแท่น อำเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี รับผิดชอบดูแลพื้นที่ 16 หมู่บ้าน 1 อบต. 1 เทศบาล มีประชากร 9,054 คน.
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
บทบาท อสม.และภาคีเครือข่ายสุขภาพภาคประชาชนในการจัดการแก้ปัญหาน้ำท่วม
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
ผลการพัฒนาระบบการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
รางวัล R2R ดีเด่นระดับตติยภูมิ โดยสำนักวิจัยระบบสาธารณสุข
การดูแลผู้ป่วยเบาหวานครบวงจร ศูนย์แพทย์ชุมชนมะค่า
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คุณภาพมาตรฐาน บริการด้วยนำใจ สิ่งแวดล้อมสดใส ห่วงใยปวงประชา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การป้องกันภาวะไตวาย ประกอบด้วย 2 โครงการ 1. โครงการป้องกันภาวะไตวาย จ
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
Point of care management Blood glucose meter
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
ผลการดำเนินงานตามแนวทางพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา จังหวัดปราจีนบุรี ตุลาคม 2556 – มิถุนายน 2557 พญ. นิภาภรณ์ มณีรัตน์
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.

ฉากทัศน์การจำลอง เหตุการณ์ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสอีโบ ลา ฉากทัศน์ที่ ๑ พบผู้ป่วยสงสัยบน เครื่องบิน ฉากทัศน์ที่ ๒ พบผู้ป่วยสงสัยที่ด่าน ควบคุมโรคติดต่อ ระหว่างประเทศ.
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
สาขาโรคมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ 1
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานดูแลผู้ป่วยต้อหิน จังหวัดร้อยเอ็ด 2011 นายแพทย์ถาวร รังษีจำรัส นายแพทย์เชี่ยวชาญ ด้านจักษุวิทยา โรงพยาบาลร้อยเอ็ด

ประเด็นปัญหาผู้ป่วยต้อหิน เป็นโรคที่ทำให้ตาบอด ผู้ป่วยไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ ด้านการเดินทาง ด้านเศรษฐานะ มีการเจ็บป่วยโรคอื่นร่วมด้วย ผลที่ตามมา ผู้ป่วยขาดการรักษา สายตาพิการจากต้อหิน

เป้าหมายการดูแลรักษาผู้ป่วยต้อหิน ให้ผู้ป่วยต้อหินกลุ่มเสี่ยงที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการ ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม ให้ผู้ป่วยต้อหินที่ควบคุมได้ รับบริการใกล้บ้านได้อย่างปลอดภัย สถานบริการใกล้บ้านระดับอำเภอ สามารถให้คำปรึกษา เรื่องต้อหินแก่ผู้ป่วยได้

สร้างระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยต้อหิน รพ.ชุมชน รพ.ชุมชน สร้างเครือข่าย แผนกจักษุ รพ.ร้อยเอ็ด รพ.ชุมชน รพ.ชุมชน รพ.ชุมชน รพ.ศรีนครินทร์

พัฒนาระบบการดูแลรักษา พัฒนาศักยภาพการให้บริการระดับอำเภอ แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่ จัดหาเวชภัณฑ์ พัฒนาระบบส่งต่อ สมุดบันทึกการดูแลรักษา ระบบส่งต่อปกติ พัฒนาระบบข้อมูล HosXP

ลักษณะผู้ป่วยที่ดูแลระดับอำเภอ ผู้ป่วยที่ตาบอดแล้ว ผู้ป่วยที่ไม่ต้องการรักษาด้วยวิธีอื่น นอกจากหยอดยา ผู้ป่วยที่ควบคุมความดันตาอยู่ในเกณฑ์ ที่ควบคุมต้อหินได้ ผู้ป่วยไม่สามารถเดินทางไปรักษาที่อื่นได้

แนวทางการดำเนินงาน จัดทำ Guide line การดูแลผู้ป่วยต้อหิน โรงพยาบาลชุมชน เตรียมทีมแพทย์และพยาบาลดูแลผู้ป่วยต้อหิน อบรมฟื้นฟูความรู้เรื่องต้อหิน ฝึกวัดความดันตา ศึกษา Guide line การดูแลและส่งรักษาต่อ จัดหาเครื่องวัดความดันตา จัดหายาต้อหิน

Guide line การดูแลรักษาผู้ป่วยต้อหิน จักษุแพทย์คัดกรองผู้ป่วยต้อหิน เพื่อรับบริการที่ รพ.ชุมชน case absolute glaucoma case controlled IOP case uncontrolled IOP ที่ได้รับยาต้อหินเต็มที่แล้วและปฏิเสธการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ ผู้ป่วยยินยอม ส่งผู้ป่วยรับยาและดูแลต่อที่รพ.ชุมชนในพื้นที่ รพ.ชุมชนนัดตรวจ/รับยา เดือนละ 1 ครั้ง ถ้ามีปัญหา ส่งพบจักษุแพทย์ได้เลย ถ้าไม่มีปัญหา ส่งพบจักษุแพทย์ทุก 3 เดือน

เครื่องวัดความดันตา Non-contact tonometer Handheld contact tonometer จังหวัดจัดซื้อให้ 5 ตัว : 5 โซน Handheld contact tonometer I-Care รพ.ชุมชนสามารถจัดหาเองได้

การจัดหายาต้อหิน โรงพยาบาลชุมชน จัดซื้อยาเอง โดยอิงราคายาจาก รพ.ร้อยเอ็ด จัดซื้อยาจากโรงพยาบาลร้อยเอ็ด

ระบบส่งต่อ สมุดประจำตัวผู้ป่วยต้อหิน ใบ Refer บันทึกค่า target IOP บันทึกผลการตรวจแต่ละครั้ง บันทึกยาที่รับปัจจุบัน ใบ Refer เมื่อต้องการส่งต่อ

ระบบข้อมูล บันทึกการรักษา ส่งรายงาน สมุดประจำตัวผู้ป่วยต้อหิน HosXP รายชื่อผู้ป่วยต้อหินที่ให้บริการรายเดือน (ทุกเดือน-Excel) เลขประชาชน ชื่อ-สกุล วันที่รับบริการ ชื่อหน่วยงานที่ให้บริการ ส่งที่คุณประกอบแก้ว สสจ.ร้อยเอ็ด

ระบบข้อมูล ประมวลผล จำนวนผู้ป่วยต้อหินที่ รพ.ชุมชนให้บริการแต่ละเดือน รายครั้ง รายคน ผู้รับผิดชอบ คุณประกอบแก้ว

THE END