ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
Advertisements

(Screening for possible health impact)
Research Mapping.
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แนวทางการ ดำเนินงานที่สำคัญ ตุลาคม พันธกิจ สวรส.  สร้าง / จัดการความรู้เพื่อการ พัฒนาระบบสุขภาพ  เน้นการวิจัยเชิงระบบ (system approach) และวิจัยในประเด็นปัญหาสำคัญของระบบ.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการสร้างแรงจูงใจและมีส่วนร่วม
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
นโยบายและทิศทางการพัฒนาทีม SRRT ปี 2558
การจัดการด้านข้อมูลและ งบประมาณด้านสุขภาพ นพ. อุกฤษฏ์ มิลินทางกูร สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ แห่งชาติ ( สปรส.) 27 เมษายน 2548.
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
ภายใต้ความร่วมมือ 3 องค์กรหลัก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558 ทิศทาง ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน HIA ภายใต้พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ผศ.ดร.จรวยพร ศรีศศลักษณ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 26 มกราคม 2558

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ย้อนอดีต HIA สวรส. : แผนวิจัยระบบสาธารณสุข 2542-2544, 2545-2547 วิธีคิด วิธีมองปัญหา ของคนในสังคม ปัญหาสุขภาพไม่ใช่ปัญหาปัจเจกแต่เป็นปัญหาของประเทศ พัฒนาการภาคประชาสังคม การพัฒนากระบวนการประชาธิปไตยและการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปกครองและควบคุม (Governance) 09/04/60 14:18 น.

แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบสุขภาพ 2548 แผนงาน HPP-HIA การพัฒนาแนวคิดและเครื่องมือ HPP และ HIA สร้างความเข้าใจเรื่อง Public Policy Process สร้างกลไกและเครื่องมือการพัฒนากระบวนการเรียนรูและสร้างความรู้ของประชาชน ให้ความสำคัญกับมิติสุขภาพใน PPP การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของเครือข่ายพันธมิตร 09/04/60 14:18 น.

Policy change  System change HIA เข้าไปสองจุด ในปี 2550 รธน. พรบ.สุขภาพแห่งชาติ (กฎหมาย) Legitimacy Policy change  System change KM  Social learning Consortium เชิงสหวิทยาการ (หลายศาสตร์) 09/04/60 14:18 น.

ความหมายของ “การพัฒนาระบบสาธารณสุข” การศึกษา ค้นคว้าและวิจัย กิจการด้านสาธารณสุขในเชิงสหวิทยาการ โดยสัมพันธ์กับศาสตร์ด้านอื่น เช่น สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การแพทย์ เศรษฐศาสตร์ จิตวิทยา หรือพฤติกรรมศาสตร์ เพื่อให้กิจการด้านสาธารณสุขสามารถพัฒนาไปอย่างมีระบบ และสามารถแก้ไขปัญหาสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพ พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๓๕

ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 2552 หมวด 5 การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ หมายความว่า การจัดการกับปัจจัยต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพ เชื้อโรค สารเคมี ภัยธรรมชาติ รวมทั้งระบบต่างๆในสังคมเพื่อควบคุมปัจจัยดังกล่าว ให้มีผลเสียต่อสุขภาพน้อยที่สุด รวมทั้งการสร้างปัจจัยที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีด้วย 09/04/60 14:18 น.

HIA vs National Health Act รางวัลสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ กรณีศึกษา เขาหินซ้อน ฉะเชิงเทรา มติสมัชชา ครั้งที่ 5 : การปฏิรูประบบการประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม มติสมัชชา ครั้งที่ 1 : อปท.กับการจัดการสุขภาพและสิ่งแวดล้อม และอีกหลายๆ มติ 09/04/60 14:18 น.

เครื่องมือ Impact Assessment, PHPP, Social learning HIA CHIA SIA EIA EHIA HRIA (สิทธิมนุษยชน) IIA (Integrated Impact Assessment) SEA (การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์) เครื่องมือเหล่านี้เป็นแค่การรายงานใช่หรือไม่ 09/04/60 14:18 น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ มองอนาคต HIA กระจายอำนาจ : การให้ความสำคัญกับประชาชนและชุมชนท้องถิ่น ในฐานะขององค์ประกอบหลักในการกำหนดนโยบายสุขภาพ และเป็นผู้รับผิดชอบที่แท้จริงต่อการแปรนโยบายสุขภาพไปเป็นกิจกรรม ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 09/04/60 14:18 น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ งานวิจัย มุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใช้งานวิจัย (เข้ามาร่วมจัดการงานวิจัยและใช้องค์ความรู้จากผลงานวิจัย) ระบบสังคม สุขภาพ สิ่งแวดล้อม : สร้างเสริมสมรรถนะองค์กรในทุกระดับ ให้สามารถจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 09/04/60 14:18 น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ทิศทาง ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน HIA ภายใต้พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 สร้างสมรรถนะของ อปท. ในการใช้ HIA สร้างสมรรถนะของชุมชนตามสิทธิ พัฒนาการวิจัยและจัดการเรียนรู้ การสื่อสารเพื่อการใช้ประโยชน์ของ HIA การขับเคลื่อนในระดับ ASEAN 09/04/60 14:18 น.

พัฒนาการวิจัยและจัดการเรียนรู้ ประเด็นการศึกษา การจัดการสิ่งแวดล้อมในระดับนโยบายของประเทศ ที่ต้องวางกรอบและทิศทางในการจัดการปัญหาระดับประเทศ เช่น การจัดการสิ่งปฏิกูลมูลฝอย(มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยอันตรายจากชุมชน)ในภาพรวม ทิศทางการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของประเทศ การจัดระบบการจัดการของเสียจากภาคอุตสาหกรรม สารเคมีภาคเกษตรกรรม การควบคุมนิคมอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อชุมชน 09/04/60 14:18 น.

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องแจ้งเพื่อทราบ ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อน HIA •Clarity – กระจ่าง •Future Orientation – long-term perspective of an organization and the future environment it functions. •Challenge – Motivate all to achieve a desirable outcome. •Desirability or Ability to Inspire 09/04/60 14:18 น.