หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
ขั้นตอนวิธี Algorithms.
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Logic Programming โปรแกรมเชิงตรรกะ.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
การออกแบบโปรแกรมอย่างมีโครงสร้าง Structured Design
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
ครูรัตติยา บุญเกิด.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
Week 7 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
2.3 ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Introduction : Principle of Programming
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้าง ภาษาซี.
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำ (for).
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม สามารถอธิบายขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างการโปรแกรมเชิงโครงสร้างและการโปรแกรมเชิงวัตถุได้ บอกเทคนิคการออกแบบโปรแกรมเชิงโครงสร้างได้ เห็นความสำคัญของอัลกอริทึมที่นำมาใช้เพื่อการออกแบบโปรแกรม สามารถบอกคุณสมบัติและประสิทธิภาพของอัลกอริทึมได้

ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม การวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การจัดทำเอกสาร การวิเคราะห์ปัญหา ส่วนข้อมูลนำเข้า ส่วนการประมวลผล ส่วนผลลัพธ์ การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม

รูปแบบการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง คำสั่งเป็นลำดับขั้นตอน (Sequence) มีทางเลือกในการตัดสินใจทางใดทางหนึ่ง (Decision) มีชุดคำสั่งเพื่อการทำซ้ำ (Repetition)

การโปรแกรมแบบบนลงล่าง Top-Down Programming

การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ Class Object Method Properties

จุดประสงค์ของการออกแบบโปรแกรม เพื่อสร้างโปรแกรมให้มีคุณภาพและทำนายได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับโปรแกรม เพื่อสร้างโปรแกรมที่ง่ายต่อการปรับปรุงและแก้ไข เพื่อให้ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมมีระบบระเบียบยิ่งขึ้น เพื่อให้การพัฒนาระบบมีความรวดเร็วและประหยัดต้นทุน

อัลกอริทึม ขั้นตอนวิธีที่จะอธิบายว่างานนั้นทำอย่างไร ประกอบด้วยกระบวนการทำงานเป็นลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน รับประกันว่าเมื่อทำตามการออกแบบแล้วจะต้องได้ผลลัพธุ์ถูกต้อง ขั้นตอนการทำงานอาจแตกต่างกันได้ แต่ได้ผลลัพธ์เดียวกัน

คุณสมบัติของอัลกอริทึม เป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นจากกฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ที่สร้างอัลกอริทึมต้องไม่คลุมเครือ การประมวลผลต้องเป็นลำดับขั้นตอน กระบวนการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา อัลกอริทึมต้องมีจุดสิ้นสุด

ประสิทธิภาพของอัลกอริทึม ใช้เวลาในการดำเนินการน้อยที่สุด ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด มีความยืดหยุ่น ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด ง่ายต่อการทำความเข้าใจ

ซูโดโค้ด การนำอัลกอริทึมมานำเสนอในรูปแบบซูโดโค้ด ซูโดโค้ด ยังไม่ใช่โปรแกรมจริง เขียนด้วยภาษาอังกฤษ ใช้สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์

วิธีการเขียนซูโดโค้ด ถ้อยคำหรือคำสั่ง ให้เขียนด้วยภาษาอังกฤษอย่างง่าย ในหนึ่งบรรทัดให้เขียนประโยคคำสั่งเพียงประโยคเดียว ควรใช้ย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ เพื่อแยกคำเฉพาะ การจัดโครงสร้างที่เป็นสัดส่วน แต่ละประโยคคำสั่ง เขียนลำดับจากบนลงล่าง มีทางเข้าออกทางเดียว กลุ่มของประโยคคำสั่งต่าง ๆ อาจรวมกันในรูปแบบของโมดูล

ตัวอย่างซูโดโค้ด

รูปแบบการเขียนซูโดโค้ด การกำหนดค่าและการคำนวณ NAME = Expression Name = ชื่อตัวแปรที่ใช้เก็บค่า Expression = ค่าของข้อมูล Salary = 10000 Overtime = 2500 Tax = 125 Income = salary + overtime - tax

รูปแบบการเขียนซูโดโค้ด การอ่านและรับข้อมูล READ variable_1,variable_n INPUT variable_1,variable_n GET variable_1,variable_n READ คือการอ่านค่าที่มีอยู่แล้วมาเก็บในตัวแปร INPUT คือ การรับค่าข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์ GET คือ การรับค่าข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์

ตัวอย่างการอ่านและรับข้อมูล INPUT a,b,c Answer = a+b+c GET current_date Expire_date = current_date + 120 OPEN student_file READ id, name, address, Gender

รูปแบบการเขียนซูโดโค้ด การแสดงผลข้อมูล PRINT variable_1,variable_n PROMPT variable_1,variable_n WRITE variable_1,variable_n PRINT คือการพิมพ์ค่าข้อมูลหรือข้อความ WRITE คือ การบันทึกข้อมูลลงแฟ้มข้อมูล

ตัวอย่างการอ่านและรับข้อมูล การแสดงผลข้อมูล PROMPT “Enter 3 value ==>” INPUT value1, value2, value3 Sum value1 + value2 + value3 PRINT sum OPEN student_file INPUT id, name, address, sex WRITE id, name, address, sex

รูปแบบการเขียนซูโดโค้ด การกำหนดเงื่อนไข IF <condition> THEN activity1 ELSE activity 2 ENDIF

ตัวอย่างการกำหนดเงื่อนไข IF sex =“M” THEN male = male +1 ELSE female = female +1 ENDIF

รูปแบบการเขียนซูโดโค้ด การทำงานเป็นรอบ (Loop) WHILE <condition> activity 1 activity 2 activity 3 ENDWHILE

ตัวอย่างการทำงานเป็นรอบ การทำงานเป็นรอบ (Loop) WHILE num<=20 PRINT num num=num+1 ENDWHILE PROMT “STOP RUN”

รูปแบบการเขียนซูโดโค้ด การทำงานเป็นรอบ (Loop) ด้วยคำสั่ง FOR FOR i=1 to n activity1 activity2 activity3 NEXT

ตัวอย่างการทำงานด้วยคำสั่ง FOR การทำงานเป็นรอบ (Loop) ด้วยคำสั่ง FOR FOR i=1 to 10 PRINT “Good Morning…” NEXT