การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Chromosome ชีววิทยา ม. 4.
กลไกการวิวัฒนาการ.
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
โครโมโซม.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
The Genetic Basis of Evolution
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การจำลองดีเอ็นเอเกิดขึ้นในลักษณะใด
ความหลากหลายของมนุษย์ในปัจจุบัน เชื้อชาติกับวัฒนธรรม
Sarote Boonseng Nucleic acids.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
Evolutionary Theory Charles Darwin
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
พันธุกรรมและวิวัฒนาการ
7.Cellular Reproduction
ตอนที่ 2.
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
การวิเคราะห์ DNA.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ความหลากหลายทางพันธุกรรม คุณลักษณะ และ รูปแบบการถ่ายทอด
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
ลักษณะทางพันธุกรรม นอกเหนือจากกฎของเมนเดล
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
Chi-square Test for Mendelian Ratio
Genetic drift Before: 8 RR 0.50 R 8 rr 0.50 r After: 2 RR 0.25 R 6 rr
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
การกลายพันธุ์ (MUTATION)
Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร.
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
Charles Darwin เป็นนัก ธรรมชาติวิทยาได้เดินทางไปสํารวจ และทําแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีป อเมริกาใต้ Darwin ได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Animal Breeding and Improvement การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
Transcription (การถอดรหัส)
Mating System Asst.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พันธุวิศวกรรมศาสตร์ วิศวกรรมพันธุศาสตร์
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความถี่ยีน
ผู้ช่วยสอน : นางสาวอมรรัตน์ ตันบุญจิตต์
ว33241 ชีววิทยา 4 บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
(เมล็ดเรียบสีเหลือง)
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม Kittichai cheawchan

ลักษณะพันธุกรรม คืออะไร ?? พันธุกรรม คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถูกควบคุมโดยยีน (gene) ซึ่งสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้

ลักษณะพันธุกรรม มีอะไรบ้าง?

ยีน (gene) ยีน คือหน่วยควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ยีนเด่น (Dominant gene) คือยีนที่แสดงออกเสมอ เมื่อเป็นพันธุ์แท้หรือพันธุ์ทาง 2. ยีนด้อย (Recessive gene) คือยีนที่แฝงอยู่ถูกข่มโดยยีนเด่น จะแสดงออกเมื่อเป็นพันธุ์แท้เท่านั้น

จีโนไทป์(Genotype) คือ ส่วนผสมของรูปแบบของยีนต่างๆในสิ่งมีชีวิต หรือ คือ ส่วนผสมของแอลลีล(allele)ของยีนต่างๆ เช่น AA , Aa, aa ,XCXc

พันธุ์แท้ (homozygous) คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมา โดยมียีนที่ควบคุมลักษณะทั้งคู่เหมือนกันซึ่งอาจเป็นยีนที่มีลักษณะเด่นทั้งคู่ เช่น TT, RR หรือ แสดงลักษณะด้อย เช่น tt, rr เป็นต้น

พันธุ์ทาง (heterozygous) คือ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมา โดยมียีนที่ควบคุมลักษณะทั้งคู่ต่างกัน เช่น Tt

 ฟีโนไทป์ (Phenotype)  คือ ลักษณะที่ปรากฏออกมา หรือ ลักษณะที่แสดงออกมา ซึ่งเป็นได้ทั้งลักษณะที่อยู่ภายนอก (เช่น สีของดอกไม้) และลักษณะที่อยู่ภายใน(เช่น หมู่เลือด)  

จำนวนโครโมโซมมนุษย์ Autosome 44 แท่ง Sex chromosome 2 แท่ง

เซลล์มนุษย์ -เซลล์ร่างกาย (Somatic cell) เป็น diploid (2n) เช่น .............. -เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell หรือ gamete) เป็น haploid (n) หรือ ลดครึ่งหนึ่ง เช่น ..........................

ยีนเด่นบนออโตโซม เท้าแสนปม นิ้วมือสั้น คนแคระ

ยีนด้อยบนออโตโซม* ธาลัสซีเมีย (Thalassemia) ผิวเผือก

X-linked recessive* ตาบอดสี ฮีโมฟีเลีย พร่องเอนไซม์ G-6-PD

การเขียนจีโนไทป์* ธาลัสซีเมีย ตาบอดสี หมู่เลือด

เพดดิกรี*

การแบ่งเซลล์ (cell division)

“ไมโทซิส” “ไมโอซิส”

“ไมโทซิส”

“ไมโทซิส”

“ไมโอซิส”

“ไมโอซิส”

“ไมโอซิส”

1.เบส 2.น้ำตาล 3.ฟอสเฟต

น้ำตาล ไรโบส ดีออกซีไรโบส

เบส

กฎชาร์กาฟฟ์

พันธะไฮโดรเจนระหว่างเบส

Nucleic acid DNA RNA polynucleotide 2 สาย 1 สาย เบส T A G C U A G C น้ำตาล deoxyribose ribose หมู่ฟอสเฟต มี หน้าที่ สารพันธุกรรมในสมช.ส่วนใหญ่ สารพันธุกรรมในไวรัส และช่วย DNA สร้างโปรตีน ปริมาณในเซลล์ น้อยกว่า มากกว่า

วิวัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในประชากรของสิ่งมีชีวิต จากรุ่นหนึ่งสู่รุ่นหนึ่ง

หลักฐานสนับสนุน โครงสร้างที่มีแหล่งกำเนิดเหมือนกัน “homologous structure” โครงสร้างที่มีแหล่งกำเนิดเหมือนกัน

โครงสร้างที่มีแหล่งกำเนิดต่างกัน หลักฐานสนับสนุน “analogous structure” โครงสร้างที่มีแหล่งกำเนิดต่างกัน แต่หน้าที่เหมือนกัน

ทฤษฎีของลามาร์ก (Lamarck's Theory) 1.กฎการใช้และไม่ใช้ = อะไรที่ใช้มันจะใหญ่ขึ้น แข็งแรงขึ้น อะไรไม่ได้ใช้มันจะเล็กลง 2. กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นใหม่ = ลักษณะที่เกิดในชั่วรุ่นจะถ่ายทอดได้

ทฤษฎีของดาร์วิน (Darwin's Theory) -สิ่งมีชีวิตต้องมีการดิ้นรนต่อสู้เพื่อความอยู่รอด พวกที่มีความเหมาะสมก็จะมีชีวิตอยู่รอด พวกที่ไม่มีความเหมาะสมก็จะตายไป

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทำไมยีราฟคอยาว???

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ Ss อยู่ รอด (ยีนด้อยบนออโตโซม)

การคัดเลือกโดยธรรมชาติ

วิวัฒนาการ 1.การแปรผันทางพันธุกรรม 2.การคัดเลือกตามธรรมชาติ มิวเทชัน mutation หรือ การกลายพันธุ์ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ 2.การคัดเลือกตามธรรมชาติ

การกลายพันธุ์ Mutant Mutation

การกลายพันธุ์ รังสีแกมม่า