Introduction to HTML, PHP – Special Problem (Database)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Introduction to C Introduction to C.
Advertisements

เรียนรู้และเข้าใจ HTML อย่างง่าย
Active Sever Page.
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
Chapter VII : การแก้ไขข้อมูล
FORM อ.กันทิมา อ่อนละออ
Script Programming& Internet Programming
หลักการออกแบบเว็บ กำหนดกลุ่มเป้าหมาย จำแนกกลุ่มเนื้อหา
JavaScript.
PHP LANGUAGE.
PHP LANGUAGE.
วิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (Web-based Programming)
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
แนะนำให้รู้จักกับ CSS (Cascading Style Sheets)
การส่งค่าและการเก็บค่า (ต่อ... )
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การจัดวางตำแหน่งข้อมูลไว้กึ่งกลาง
การกำหนดสีของตัวอักษร การกำหนดสีของตัวอักษรเฉพาะส่วน
SCC : Suthida Chaichomchuen
– Web Programming and Web Database
– Web Programming and Web Database
การสร้างเว็บด้วย HTML HyperText Markup Language
Introduction to php Professional Home Page :PHP
Php with Database Professional Home Page :PHP
เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร
จากไฟล์ save_db.php.
การกำหนดค่าเริ่มต้นและ การใช้งาน server ผ่าน Dreamweaver
PHP with Form ฟอร์ม คือหน้าจอที่ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อระหว่างผู้ใช้เว็บไซต์ กับ เจ้าของเว็บไซต์ โดยผู้ใช้สามารถกรอกข้อมูลผ่านฟอร์มส่งไปยังเซอร์เวอร์
Electronic Commerce เว็บฟอร์ม (Web Form).
PHP.
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 12 กรกฎาคม 2550 HTML (HyperText Markup Language)
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับภาษา PHP ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
HTML, PHP.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้าง WebPage
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
Week 2 Variables.
เสรี ชิโนดม รู้จักกับ PHP เสรี ชิโนดม
Computer Programming for Engineers
การเขียนโปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL
PHP for Web Programming
CHAPTER 12 FORM.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม PHP
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
บทที่ 3 การกำหนดรูปแบบตัวอักษร
Output of C.
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
HTML 1. รูปแบบพื้นฐานของ เอชทีเอ็มแอล
หลักการเขียนเว็บไซต์
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database) Choopan Rattanapoka.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Download PHP. C:\windows\PHP.ini cgi.force_red irect = 0 พิมพ์แทรก.
การสร้างฟอร์ม(Form) ด้วยภาษา HTML
Java Network Programming 1
HTML (Hyper Text Markup Language) HTML (Hyper Text Markup Language) เป็นภาษา มาตรฐานสากลที่ใช้นำเสนอข้อมูลแบบ ผสมผสานในการสื่อสารแบบ World-Wide- Web.
HOME PAGE.
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การเขียน Home page ด้วย HTML (2) ตอน... การใช้ FORM โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
PHP : [1] PHP เบื้องต้น. PHP คืออะไร ? PHP ได้รับการเผยแพร่เป็นครั้ง แรกในปี ค. ศ โดย Rasmus Lerdorf ต่อมาได้มีนัก โปรแกรมเมอร์เข้ามาช่วยในการ พัฒนาต่อมาตามลำดับ.
การรับข้อมูลใน ภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
PHP. P ersonal H ome P age P rofessional H ome P age PHP : H ypertext P reprocessor.
PHP เบื้องต้น.
Introduction to SQL (MySQL) – Special Problem (Database)
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
PHP Html Form && Query string
Form.
โดย ส.อ.ประกาศิต วรนุช วิททยาลัยเฉลิมกาณจนา
PHP (1) - variables - math operations - form method
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to HTML, PHP 353352 – Special Problem (Database) Choopan Rattanapoka

HyperText Markup Language HTML HyperText Markup Language เป็นภาษาที่ถูกออกแบบมาเพื่อพัฒนา เวปเพจ หรือ ข้อมูลต่างๆ ที่สามารถ เรียกดูผ่าน web browser นามสกุลของไฟล์ทั่วไปจะใช้ .htm หรือ .html โครงสร้างพื้นฐานของภาษา HTML จะประกอบด้วย <HTML> <HEAD> <TITLE> Hello </TITLE> </HEAD> <BODY> What’s up </BODY> </HTML>

รหัสสีใน HTML เราสามารถกำหนดสีของฉากพื้นหลัง รวมถึง สีของตัวอักษรแล้ว link ต่างๆ ใน HTML ได้ ซึ่งรหัสสีจะอยู่ในรูปของเลขฐาน 16 (RGB สีละ 8 bits) แล้ว ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย “#” ตัวอย่าง #000000 (Red = 0, Green = 0, Blue = 0) คือ สีดำ #FFFFFF (Red = FF, Green = FF, Blue = FF) คือ สีขาว #FF0000 (Red = FF, Green = 0, Blue = 0) คือ สีแดง #00FF00 สีเขียว #0000FF สีน้ำเงิน

การเปลี่ยนสีพื้นหลัง และ สีของตัวอักษร เปลี่ยนสีพื้นหลัง จะสั่งใน tag ของ BODY เช่น จะเปลี่ยนพื้นหลังให้เป็น สีแดง <BODY BGCOLOR=“#FF0000”> เปลี่ยนสีตัวอักษร จะสั่งใน tag ของ BODY เช่นกัน เช่น จะเปลี่ยนตัวอักษรให้เป็นสีน้ำเงิน <BODY TEXT=“#0000FF”> เปลี่ยนสีตัวอักษรเฉพาะที่ <FONT COLOR=“#00FF00> Hello </FONT>

Example 1

การจัดรูปแบบตัวอักษร <h1>…</h1>, <h2>…</h2>, <h3>…</h3> เป็นการกำหนดตัวอักษรให้เป็น header <center> </center> เพื่อทำให้แสดงค่าที่ตำแหน่งกลางหน้าจอ Hello normal <h1>Hello h1</h1> <h2>Hello h2</h2> <h3>Hello h3</h3> <center><h2>Hello center</h2></center>

รายละเอียดเพิ่มเติม ควรไปศึกษาเอง ศึกษาเองได้จาก web site : http://www.w3schools.com/htmL/html_intro.asp ตัวอย่างคำสั่งที่ควรรู้จักเช่น <a href = “………”> ….. </a> ที่ใช้ในการสร้าง link <img src = “………..”> ที่ใช้ในการแสดงรูปภาพ <br> ใช้ในการขึ้นบรรทัดใหม่ <hr> ขีดเส้นขั้นบรรทัด <table> ในการสร้างตาราง

HTML FORM <FORM> <INPUT> </FORM> นอกจาก web page จะแสดงข้อความต่างๆ แล้ว เรายังเราให้ web page รับ ข้อมูลจากผู้ใช้ได้อีกด้วย ด้วยการใช้ tag แบบฟอร์ม (FORM) <FORM> <INPUT> </FORM>

Input : Text Field <input type=“text” name=“….”> ตัวอย่าง : <html> <head><title>Hello</title></header> <body> <form> Firstname : <input type=“text” name=“firstname”> <br> Lastname : <input type=“text” name=“lastname”> </form> </body> </html>

Input : Radio Buttons <input type=“radio” name=“...” value=“…“> <form> <input type="radio" name="sex" value="male"> Male <br> <input type="radio" name="sex" value="female"> Female </form>

Input : CheckBoxes <input type=“checkbox” name=“...” value=“…”> <form> bike: <input type="checkbox" name="vehicle" value="Bike"> <br> car: <input type="checkbox" name="vehicle" value="Car"> plane: <input type="checkbox" name="vehicle“ value=“Plane"> </form>

การส่งผ่านค่าใน FORM <form name=“….” action=“…” method=“…”> <input type=“submit” value=“…”> <form name=“survey” action=“survey.php” method=“get”> Username : <input type=“text” name=“username”> <br> Password : <input type = “password” name=“passwd”> <input type=“submit” value=“Login”> </form>

Exercise 1 จงเขียนหน้า web page ดังนี้ : มี title ว่า Exercise 1 พื้นหลังมีสี #AAEEEE คำว่า แบบสอบถาม มีขนาด <h1> ให้ตัวแปรที่เก็บค่าของชื่อเล่น มีชื่อว่า nickname ให้ตัวแปรที่เก็บค่าของเพศชื่อว่า sex มีค่า male ถ้าเป็นชาย มีค่า female ถ้าเป็นหญิง ให้ตัวแปรที่เก็บค่าของงานอดิเรกชื่อ hobby มีค่า read -> อ่านหนังสือ มีค่า game -> เล่นเกมส์ มีค่า sleep -> นอน มีค่า drunk -> เมา

PHP PHP มาจาก PHP : Hypertext Preprocessor ทำงานที่ฝั่งของ server เช่นเดียวกับ ASP สามารถทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูลได้หลายชนิด (MySQL, Informix, Oracle, Sybase, ..etc) PHP เป็น open source PHP ฟรี PHP สามารถทำงานได้ในหลาย OS (Windows, Linux, Unix, etc..) Web server เกือบทุกเจ้ารองรับ PHP (IIS, Apache) โดยปกติจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่อยู่ในรูป .php , .php3 หรือ .phtml

เริ่มต้นกับ PHP Syntax ของ PHP จะอยู่ในรูป <?php โปรแกรม PHP ?> ทดลองง่ายๆ ก่อนกับฟังค์ชั่น echo Comment ใน PHP ใช้เหมือนภาษา C , Java <html> <body> <? echo “Hello World”; ?> </body> </html>

PHP HTML <html> <body> <? echo “Hello World”; ?>

การประกาศตัวแปรใน PHP $myVariable = 5; $txt = “Hello World”; PHP เป็นภาษา script ที่ไม่สนใจประเภทของข้อมูลจึงไม่จำเป็นต้องประกาศ ประเภทของข้อมูล (int, string,..) ให้กับตัวแปร ตัวอย่าง : <? $txt = “Hello World”; echo $txt; ?>

Operation การเชื่อมต่อข้อความ จะเชื่อมต่อด้วยเครื่องหมายจุด “ . “ การเชื่อมต่อข้อความ จะเชื่อมต่อด้วยเครื่องหมายจุด “ . “ <? $txt1=“Hello World”; $txt2 =“123”; echo $txt1 . “ “ . $txt2; ?> การทำ arithmetic operation ก็ใช้เครื่องหมายเหมือนภาษา C, java +, - , * , / , %, ++, --, +=, -= , == , != , <=

Condition If-else ลักษณะการทำงานเหมือนกับภาษา C, Java if (เงื่อนไข ) { คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ 1; คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ 2; … คำสั่งถ้าเป็นจริงที่ N; } else { คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่1; คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่2; … คำสั่งถ้าเป็นเท็จ ที่N; }

ตัวอย่างยอดฮิต โปรแกรมคิดเกรด <? $score = 75; if($score >= 80) echo “A”; else if($score >= 70) echo “B”; else if($score >= 60) echo “C”; else if($score >= 50) echo “D”; else echo “F”; ?>

HTML + PHP PHP จะสามารถรับค่าจาก form ของ HTML เช่น จากตัวอย่างคิดเกรด เราจะทำ หน้า web page เพื่อรับค่า score แล้วส่งค่าไปให้ php PHP <html> <form action=“a.php" method="get"> score : <input type="text" name="score"> <input type="submit" value="submit"> </form> </html>

การรับค่าจาก PHP grade.html a.php ใน HTML FORM จะมี method อยู่ 2 แบบ คือ get และ post การดึงค่าจาก method=“get” จะดึงค่าจากตัวแปรที่ชื่อ $_GET การดึงค่าจาก method=“post” จะดึงค่าจากตัวแปรที่ชื่อ $_POST ทั้ง $_GET และ $_POST เป็นตัวแปรชนิด array <html> <? $score = $_GET[“score”]; if($score >= 80) echo “A”; else if($score >= 70) echo “B”; else if($score >= 60) echo “C”; else if($score >= 50) echo “D”; else echo “F”; ?> </html> <html> <form action=“a.php" method="get"> score : <input type="text" name="score“> <input type="submit" value="submit"> </form> </html> grade.html a.php

GET และ POST Method ในระบบ form คือ GET และ POST มีความแตกต่างกันดังนี้ GET ค่าที่เราใส่เข้าไปจะถูกแสดงใน URL ของหน้าใน action ทำให้มีความไม่ปลอดภัยถ้าค่าที่จะส่งอีกหน้าเป็น password เพราะจะถูกแสดงใน URL แต่จะทำให้สามารถทำ bookmark ได้ POST ค่าที่ใส่ใน form จะไม่ถูกแสดงใน URL ของหน้าใน action ทำให้มีความปลอดภัยในข้อมูลที่ส่งระหว่างหน้าเวป แต่จะไม่สามารถทำ bookmark ได้

Exercise 2 จงเขียนหน้าเวปชื่อ ex2.html เพื่อที่จะรับค่า Login และ Password ถ้าค่า login คือ “ect” และ password คือ “kmutnb” ให้แสดง คำว่า Welcome เป็นตัวอักษรขนาด H2 สี #0000FF แต่ถ้าไม่ใช่ ให้แสดง คำว่า Go away hacker!! เป็นตัวอักษรขนาด H1 สี #FF0000