ภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นในจังหวัดน่าน นางสาวพิณรวี ใบยา หัวหน้ากลุ่มงานอุตุนิยมวิทยาอุทกท่าวังผา สถานีอุตุนิยมวิทยาน่าน
ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภาคเหนือ เดือน ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภาคเหนือ กุมภาพันธ์ ไฟป่า มีนาคม พายุฤดูร้อน , ไฟป่า , ฝนแล้ง เมษายน พฤษภาคม พายุฤดูร้อน , อุทกภัย มิถุนายน อุทกภัย , ฝนทิ้งช่วง กรกฎาคม ฝนทิ้งช่วง , พายุฝนฟ้าคะนอง ,พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย สิงหาคม พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย , พายุฝนฟ้าคะนอง กันยายน
ดินถล่มและน้ำป่าไหลหลาก ดินถล่มและน้ำป่าไหลหลากในจังหวัดน่านมักเกิดขึ้นเมื่อไร และบริเวณใด ส่วนใหญ่มักเกิดภายหลังฝนตกหนักมากบริเวณภูเขาซึ่งเป็นต้นน้ำลำธาร ซึ่งมีสาเหตุมาจาก หย่อมความกดอากาศต่ำ พายุหมุนเขตร้อน (พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน และพายุไต้ฝุ่น) ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องฝน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เขื่อนพัง
ระดับความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclones) เป็นลักษณะอากาศร้ายที่ก่อตัวในทะเลและมหาสมุทร บริเวณที่ พายุก่อตัวจะมีลมแรงและฝนตกเป็นบริเวณกว้าง ความเร็วลมสูงสุดที่เคยปรากฏ ในประเทศไทยคือ ไต้ฝุ่น“เกย์” มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 120 กม./ชม. ระดับความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน ชื่อเรียก ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง น๊อต กิโลเมตร/ชั่วโมง ดีเปรสชั่น ไม่ถึง 34 ไม่ถึง 63 พายุโซนร้อน 34-63 63-117 ไต้ฝุ่น, เฮอร์ริเคน * ตั้งแต่ 64 ขึ้นไป ตั้งแต่ 118 ขึ้นไป หมายเหตุ * มีชื่อเรียกต่างกันไปตามท้องถิ่น
รูปแบบของดินถล่ม 1.หินแตกไหล 2.ดินถล่มเนื่องจากการสร้าง ถนน 2.ดินถล่มเนื่องจากการสร้าง ถนน 3.ดินถล่มใต้น้ำ 4.หินร่วง หรือหินหล่น 5.เศษตะกอนไหลเลื่อนตาม ทางน้ำ 6.หน้าผาผุกร่อน 7.ตลิ่งพัง 8.ดินถล่ม
ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ ความรุนแรง 1. ปริมาณฝนที่ตกบนภูเขา 2. ความลาดชันของภูเขา 3. ความสมบูรณ์ของป่าไม้ 4. ลักษณะทางธรณีวิทยาของภูเขา ข้อสังเกตหรือสิ่งบอกเหตุ 1.มีฝนตกหนักถึงหนักมาก (มากกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน) 2.ระดับน้ำในห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 3.สีของน้ำเปลี่ยนเป็นสีของดินบนภูเขา 4.มีเสียงดัง อื้ออึง ผิดปกติดังมาจากภูเขาและลำห้วย 5.น้ำท่วมหมู่บ้าน และเพิ่มระดับขึ้นอย่างรวดเร็ว
ลักษณะที่ตั้งของหมู่บ้านเสี่ยงภัยมีข้อสังเกตดังต่อไปนี้ 1.อยู่ติดภูเขาและใกล้ลำห้วย 2.มีร่องรอยดินไหลหรือดินเลื่อนบนภูเขา 3.มีรอยแยกของพื้นดินบนภูเขา 4.อยู่บนเนินหน้าหุบเขาและเคยมีโคลนถล่มมาบ้าง 5.ถูกน้ำป่าไหลหลากและท่วมบ่อย 6.มีกองหิน เนินทรายปนโคลนและต้นไม้ ในห้วยใกล้หมู่บ้าน 7.พื้นห้วยจะมีก้อนหินขนาดเล็กใหญ่อยู่ปนกันตลอดท้องน้ำ
การป้องกัน * ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา * สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร 053-277919 สายด่วน 1182 ตลอด 24 ชั่วโมง * ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือ และวางแผนอพยพหาก จำเป็น * เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋าหิ้วติดตาม ข่าวสาร * เตรียมพร้อมอพยพเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพ
การเผยแพร่ข่าวพยากรณ์อากาศ ติดต่อสอบถามทางโทรศัพท์โดยตรง ที่ หมายเลข 0-2399-4012-4,0-2398-9830 และ 0-2399-4433 ตลอด 24 ชม. CALL CENTER 1182 ข่าวพยากรณ์อากาศทางสถานีโทรทัศน์ทุกช่อง www.tmd.go.th
ขอบคุณค่ะ