โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

กำแพงเมืองจีน (ที่มา :
ความหลากหลายของสัตว์
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การเพาะเลี้ยงกุ้งก้ามกราม
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ควายเพื่อทำพ่อพันธุ์
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี
นางสาวจิตรลดาพร แพงดี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวาริชศาสตร์
MY DOGS MY LOVE จัดทำโดย นางสาวณัฐพร แสงอรุณ
กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
บทที่ 7 หลักการเย็บประกอบตัวกระโปรง.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
รูปทรงเรขาคณิต จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง ชั้น ม. 1/4 เลขที่ 14
ด้วงกว่าง.
สถานที่น่าสนใจใน 10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด. ญ
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง ผีเสื้อแสนสวยสายพันธุ์ต่างๆ จัดทำโดย ด. ญ
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ดอกไม้ฤดูหนาว.
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
สัตว์โลกดึกดำบรรพ์ ที่ยังมีชีวิตอยู่ถึงปัจจุบัน
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
งูอันตรายของโลก จัดทำโดย ด.ช.เก่งกาจ บุญมี ชั้นม.1/12 เลขที่17 เสนอ
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
จัดทำโดย ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ ครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัดลำพูน.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
สถานที่ท่องเที่ยวหน้า หนาว จัดทำโดย เด็กหญิง ชุติกาญจน์ ยี่บุญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/12 เลขที่ 1 เสนอ คุณครูอรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด.
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
เรื่อง สิ่งมหัศจรรย์ของโลก จัดทำโดย ด. ญ. ภัทรนิษฐ์ ทะนันชัย เลขที่ 15 ชั้น ม.1/8 เสนอ คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
20 อันดับเรื่องเหลือเชื่อทางวิทยาศาสตร์ จัดทำโดย ด. ญ. ดารารัตน์ สารพยอม ชั้น ม.1/12 เลขที่ 15 เสนอ ครูอรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงรียนจักรคำคณาทรจังหวัดลำพูน.
เรื่องทำ Animetion ง่ายๆด้วย Easy toon จัดทำโดย ชื่อ ด. ช. ชนาธิป อร่ามดิลกรัตน์ เลขที่ 10 ชั้น 1/8 เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร.
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปเอเชีย จัดทำโดย เด็กหญิง นภัสสร ประสิงห์ เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 เสนอ คุณครูอรอุมา พงษ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร.
Class Monoplacophora.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Class Polyplacophora.
เรื่อง ปลากัด จัดทำโดย
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
งูอันตรายของโลก จัดทำโดย ด.ช.เก่งกาจ บุญมี ชั้นม.1/12 เลขที่17 เสนอ
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน ด้วงคีมที่กินเชื้อเห็ด จัดทำโดย ด.ช. ภูมิรพี ไชยประสพ ชั้น ม.1/11 เลขที่ 16 เสนอ อ. อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

ด้วงคีมฟันเลื่อย ชื่อไทย: ด้วงคีมฟันเลื่อยธรรมดา ด้วงคีมฟันเลื่อยเหนือ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dorcus (Serrognathus) titanus platymelus (Saunder, 1854) ลักษณะเด่น: มีสีดำ เพศผู้ขนาดใหญ่มีเขี้ยวใหญ่โค้งโดยเฉพาะใกล้ส่วนปลาย ด้านในมีฟันซี่ใหญ่ใกล้ๆโคนคีม ถัดมามีฟันเรียงกันคล้ายฟันเลื่อย ปีกเรียบ เพศเมียมีขอบตาแคบยื่นเลยกึ่งกลางตามาจนเกือบถึงหลังตา ปีกเรียบ มีรอยแทงเล็กๆเป็นแนวยาวบริเวณขอบๆ ขนาด: เพศผู้ 28-86 มิลลิเมตร เพศเมีย 26-44 มิลลิเมตร เขตแพร่กระจาย: อินเดีย จีน เวียดนาม ลาว พม่า และไทย พบทั่วไปทางภาคเหนือ และทางตะวันตกส่วนน้อย

ด้วงคีมเคอร์วิเดนส์ ชื่อไทย: ด้วงคีมเคอร์วิเดนส์ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dynodorcus curvidens curvidens (Hope, 1840) ลักษณะเด่น: มีสีดำมัน ส่วนหัวของเพศผู้มีหนามแหลมที่ด้านหน้า 1 คู่ แตกต่างจากด้วงคีมกระทิงดำใหญ่(D.antaeus)ที่ไม่มีหนามดังกล่าว เขี้ยวใหญ่โค้ง แต่ละข้างมีฟันซี่ใหญ่อยู่ตรงกลาง และมีฟันซี่เล็กอยู่ที่ส่วนปลาย ปีกค่อนข้างมันเป็นเงา มีรอยแทงละเอียดเรียงเป็นทาง ในเพศผู้ขนาดเล็กจะเห็นได้ชัดมาก เพศเมียมีขอบตาแคบ ยื่นเลยกึ่งกลางตามาจนเกือบชิดหลังตา ปีกมีร่องตามแนวยาวประมาณ 12 ร่อง ในร่องที่ 2 , 5 และ 8 จะหนาและลึกกว่าร่องอื่นๆ

ด้วงคีมเคอร์วิเดนส์ ขนาด: เพศผู้ 30-80 มิลลิเมตร เพศเมีย 30-44 มิลลิเมตร เขตแพร่กระจาย: อินเดีย เนปาล ภูฏาน บังคลาเทศ เวียดนาม ลาว พม่า และไทย พบทางภาคตะวันตกและตะวันออกเฉียงเหนือเล็กน้อย ส่วนใหญ่จะพบมากทางภาคเหนือโดยเฉพาะบนดอยสูง

บรรณานุกรม http://www.siamensis.org/species_index#13627-Subspecies:%20Dorcus%20%28Serrognathus%29%20titanus%20platymelus เขียนโดย iDuang Authenticated user เมื่อ 16 กันยายน 2554 19:07