งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
(Nyctanthes arbortristis) ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี

2

3 กรรณิการ์ Nyctanthes arbor- tristis L.
ถิ่นกำเนิดของดอกกรรณิการ์ หรือ ต้นกรรณิการ์ มาจากสี่ประเทศคือ ประเทศไทย อินเดีย ลังกา พม่า

4 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงประมาณ 2 เมตร กิ่งเป็นสี่เหลี่ยม มีขนสาก ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปไข่ กว้าง 2-6 ซม. ยาว ซม. ปลายแหลมหรือยื่นเป็นติ่งแหลม

5 ชื่อวิทยาศาสตร์. : Nyctanthes arbor-tristis L. ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร์?: Nyctanthes arbor-tristis L. ชื่อสามัญ?: Night blooming jasmine วงศ์?: OLEACEAE ชื่ออื่น?: กณิการ์ , กรณิการ์

6 ดอกกรรณิการ์ หรือ ต้นกรรณิการ์เป็นพืชสูงประมาน 2-3 เมตร ออกใบเดียวหรือออกเป็นคู่ สลับกันไปตามข้อต่อของต้นหรือตาของต้น ใบเป็นรูปไข่รี ปลายแหลมขอบใบเรียบ ออกดอกเป็นช่อสวยงาม ประมาน 5-8 ช่อหรือดอก แต่ละดอกจะผลัดกันบาน กลีบดอกจะมีประมานหกกลีบ สีขาว คล้ายกังหันลม ขนาดดอกประมาน 2 ซ.ม. แต่ละดอกจะมีใบช่วยในการประดับหนึ่งใบ

7 ใบ : ใบกรรณิการ์เป็นไม้ใบเดี่ยวแต่ออกเป็นคู่ๆ สลับกันไปตามข้อของต้น มีรูปมนรี ปลายใบแหลม กว้าง ขนาด 2-6 เซนติเมตร ยาว 4-10 เซนติเมตรมีสีเขียวและมีขนอ่อนๆ เป็นละอองปกคลุมอยู่ทั่วใบ มีลักษณะสากคายมือขอบใบเรียบ

8 ประโยชน์ของกรรณิการ์ กรรณิการ์เป็นสมุนไพรตามวิธีการของแพทย์แผนไทยได้ดี เพราะมีสรรพคุณหลายอย่าง เช่น ใบ-บำรุง น้ำดี ขับน้ำดี แก้ปวดตามข้อ เป็นยาระบาย เป็นยาขมเจริญอาหาร ในอินเดียเป็นยาขับประจำเดือน

9 ขอจบการนำเสนอเพียงเท่านี้ค่ะ


ดาวน์โหลด ppt กรรณิการ์ ผู้จัดทำ นางสาว ยุพารัตน์ แสงยาอรุณ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google