ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่อง ก. ไอซีทีบุกเกาหลีดูการใช้ไอทีลด ความเหลือมล้ำการศึกษา ความเหลือมล้ำการศึกษา จัดทำโดย น. ส. ณภัทร สิงหนาท ม.4/12 เลขที่ 24.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย ฝ่ายติดตามนโยบาย ก้อย หนิง แก้ว. ประเด็นการศึกษา.
Advertisements

แนวทางการดำเนินงาน ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา
Lessons Learned: ICT in Education
๑. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
แนวคิด ในการดำเนินงาน
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
“ การส่งเสริมโรงเรียนต้นแบบเด็กไทยสุขภาพดี ”
นโยบาย สพฐ. ปี
กรอบความคิดในการกำหนดยุทธศาสตร์ และแผนงาน ปีงบประมาณ 2550
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ICT สู่ห้องเรียนคุณภาพ
ประเทศไทยกับการเตรียมความพร้อมของเด็กในยุคสื่อใหม่ในศตวรรษที่ ๒๑
บันทึกการประชุม ห้อง สื่อใหม่กับการรู้เท่าทันสื่อ การสัมมนาวิชาการเท่าทันสื่อ ครั้งที่ ๑ ไทย-ทัน-สื่อ มหกรรมการเรียนรู้เท่าทันสื่อแห่งชาติ ครั้งที่ ๑.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย ปี 2551
ผลการสังเกตการณ์กิจกรรมมูลนิธิเมาไม่ขับ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2549.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปบทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานโครงการโรคเอดส์ ด้านการป้องกัน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ กศน. ๑. เพิ่มและกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ประชาชน ทุกกลุ่มเป้าหมายด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพ ๒. ยกระดับคุณภาพงานการศึกษานอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
โรงเรียนอนุบาลควนขนุน
กลุ่มที่ 3 หัวหน้าฝ่าย / เจ้าหน้าที่
กลุ่ม ๒ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
นโยบายรัฐบาล (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
ผอ.สพท. และหัวหน้ากลุ่มนโยบายและแผนทั่วประเทศ
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ประสบการณ์ การทำงานเครือข่ายชมรมญาติ นางเพลินพิศ จันทรศักดิ์ นักสังคมสงเคราะห์เชี่ยวชาญ โรงพยาบาลศรีธัญญา นา.
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข่าวเทคโนโลยี สารสนเทศ เรื่อง ก. ไอซีทีบุกเกาหลีดูการใช้ไอทีลด ความเหลือมล้ำการศึกษา ความเหลือมล้ำการศึกษา จัดทำโดย น. ส. ณภัทร สิงหนาท ม.4/12 เลขที่ 24 ม.4/12 เลขที่ 24 เสนอ คุณครู ปริญญา เหลืองแดง โรงเรียนกาญจนา นุเคราะห์

ไอซีที ศึกษาแนวทางการพัฒนาด้านไอซีที เพื่อการศึกษาของประเทศ เกาหลีใต้ พร้อมสร้างแรงบันดาลใจ เพื่อเด็กด้อยโอกาสให้เกิดผลเป็น รูปธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมนั้น ทำให้ได้รับความรู้และ ประสบการณ์นางจีราวรรณ บุญเพิ่ม ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร หรือ ไอซีที กล่าวว่า หลังจากเดินทางไปศึกษาดูงาน หน่วยงานด้านไอซีที เพื่อการศึกษา ณ ประเทศเกาหลีใต้ ร่วมกับผู้แทน จาก 4 หน่วยงาน คือ สำนักงานส่งเสริมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ เยาวชน ( สสค.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.) และ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ( สวทช.) ภายใต้ ข้อตกลงทางวิชาการเพื่อการพัฒนาการใช้ไอซีทีในการช่วยเหลือเด็ก ด้อยโอกาสและ ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมนั้น ทำให้ได้รับความรู้และ ประสบการณ์ เพื่อการศึกษาจาก KERIS (Korea Education and Research Information Service) และ NIA (Nation Information Society Agency)

ซึ่งสะท้อนภาพการทำงานจากนโยบายไปสู่ การปฏิบัติด้านไอซีที อย่างเป็นรูปธรรม โดย KERIS จะเน้นการทำงานกับเด็กใน ระบบโรงเรียนผ่านการพัฒนาโปรแกรมไอซี ทีที่สอดคล้อง กับกลุ่มเป้าหมายในแต่ละ กลุ่ม อาทิ โปรแกรม EDUNET ที่ส่งเสริม การสอนและการฝึกอบรมของครู โปรแกรม Research Information Service System (RISS) ที่ให้บริการด้านสารสนเทศเพื่อการ วิจัย โปรแกรม National Education Information System (NEIS) ที่สนับสนุน การบริหารจัดการระบบการศึกษา (e- Administration) ส่วนความรู้และ ประสบการณ์ที่ได้รับจาก NIA ของเกาหลีใต้ นั้น จะเน้นการใช้ไอซีทีเพื่อประชาชนทุก กลุ่มเป้าหมาย โดยในการศึกษาดูงาน หน่วยงาน

ครั้งนี้เน้นเฉพาะกลุ่มคนพิการ ซึ่งมีการ นำเสนออุปกรณ์ hi-tech ที่พัฒนาขึ้น เพื่ออำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ ของคนพิการในแต่ละกลุ่ม อาทิ เครื่อง สั่งการเมาส์ทางสายตาสำหรับผู้พิการ ทางการเคลื่อนไหว ( แขน ) เครื่อง ขยายตัวอักษรสำหรับผู้พิการ ทางการ มองเห็น เป็นต้น

นอกจากนี้ ยังศึกษาดูงาน พิพิธภัณฑ์คลองชองเกชอน ที่ สะท้อนภาพความรักชาติ และความร่วมมือสานสัมพันธ์ เพื่อพัฒนาชาติไปสู่เป้าหมายเดียวกัน คือ การพัฒนา สายน้ำที่มีสภาพสกปรกและเน่าเหม็นในอดีต ให้กลายเป็น คลองที่ใสสะอาดในปัจจุบัน โดยโครงการนี้ใช้เวลา 2 ปี 3 เดือนกับกระบวนการภาคประชาสังคม สร้างการมีส่วนร่วม โดยจัดประชุมมากกว่า 4,000 ครั้งกับผู้ได้รับผลกระทบใน การก่อสร้างฟื้นฟูคลองหลายแสนคน และการเปิดโอกาส ให้ประชาชนทุกคนตั้งแต่เด็กถึงผู้อาวุโสมีส่วนร่วมให้ความ คิดในการออกแบบคลอง อันนำมาสู่ความรู้สึกเป็นเจ้าของ คลองอันเป็นสายเลือดหลักของกรุงโซลมาแต่ โบราณนี้ อย่างแท้จริง

สำหรับ ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากประเทศ เกาหลีใต้ในครั้งนี้ เป็นความรู้ที่คณะทำงานภายใต้ ความร่วมมือ 4 ฝ่ายสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับ สังคมไทยได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการวาง แผนการทำงานด้านไอซีที เพื่อเด็กด้อยโอกาสผ่านทุน และเครือข่ายการทำงานที่มีอยู่แล้ว อาทิ เครือข่ายศูนย์ การเรียนรู้ไอซีทีชุมชนของกระทรวงฯ ในการพัฒนา และกระจายสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพไปสู่เด็กด้อย โอกาสในพื้นที่ห่างไกล เป็นต้น สำหรับ ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากประเทศ เกาหลีใต้ในครั้งนี้ เป็นความรู้ที่คณะทำงานภายใต้ ความร่วมมือ 4 ฝ่ายสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับ สังคมไทยได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะการวาง แผนการทำงานด้านไอซีที เพื่อเด็กด้อยโอกาสผ่านทุน และเครือข่ายการทำงานที่มีอยู่แล้ว อาทิ เครือข่ายศูนย์ การเรียนรู้ไอซีทีชุมชนของกระทรวงฯ ในการพัฒนา และกระจายสื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพไปสู่เด็กด้อย โอกาสในพื้นที่ห่างไกล เป็นต้น

“ นอกเหนือจากประสบการณ์ที่ได้รับแล้ว การศึกษาดูงาน ในครั้งนี้ยังได้สร้างแรงบันดาลใจร่วมกันในการผลักดัน งานด้าน ไอซีที เพื่อเด็กด้อยโอกาสให้เกิดผลเป็น รูปธรรม โดยปัจจัยความสำเร็จนั้นอยู่ที่การวางเป้าหมาย ทุกระยะอย่างชัดเจน ความร่วมมือกันอย่างดี และมี ทัศนคติทางบวกต่อกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ที่จะทำ ให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานบนฐานทุน การทำงานที่แต่ละ ฝ่ายมีอยู่แล้ว อันจะทำให้งานทั้งหมด ก้าวข้ามข้อจำกัดและดำเนินไปสู่เป้าหมายที่ทุกฝ่ายมี ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ” นางจีราวรรณ กล่าว

Thank You