ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
ระบบเศรษฐกิจ.
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
ผลิตสินค้าและบริการ.
เศรษฐกิจพอเพียง.
กลไกราคากับผู้บริโภค
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
บทที่ 11 กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategies)
ตลาดและการแข่งขัน.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
การวางแผนกำลังการผลิต
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
แนวคิดเครือข่ายและการประยุกต์ใช้ทางธุรกิจ
4.3 ความล้มเหลวของตลาด (Market Failure)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ต่อชุมชนและประเทศชาติ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : วิกฤตการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์กับ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูพัทธนันท์
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า การบริหาร จัดการ ทรัพยากร ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ตลาด ( MARKET ).
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูศรีวรรณ ปานสง่า สิทธิและ การคุ้มครองผู้บริโภค ผู้สอน อ. ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ครูศรีวรรณ ปานสง่า วิธีการทาง เศรษฐศาสตร์ ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า ระบบกลไกราคา ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับระบบกลไก ราคาและ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำวันได้

หลักการทดแทนกันของสินค้า 1. สินค้าที่ทดแทนได้ดี ย่อมมี อิทธิพลต่อกันและกัน 2. ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบ ราคา ในการตัดสินใจบริโภค เพื่อได้ประโยชน์เต็มที่

3. สินค้าที่ทดแทนได้ยาก จึงจำเป็นต้องเลือก 4. สินค้าหลายชนิด มีลักษณะ ใช้ประกอบกันมากกว่าที่จะ ทดแทนกัน

ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ปริมาณอุปสงค์ ลดลง ปริมาณอุปสงค์ สินค้าที่ใช้ประกอบ ต่ำลง

หลักการแห่งการทดแทนกัน สินค้าหรือทางเลือกต่าง ๆ สามารถ ทดแทนกันได้ แม้ว่าจะมีลักษณะใช้ ประกอบกัน

หลักความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง ผู้ผลิตควรเลือกผลิตสินค้าที่ ตนเองมีความเชี่ยวชาญ ได้เปรียบผู้ผลิตรายอื่น ลดต้นทุนการผลิต เป็นผู้ผลิตที่สำคัญ - สามารถอยู่รอด

อดัม สมิธ บิดาแห่งวิชา เศรษฐศาสตร์

- แบ่งงานกันทำตามความถนัด เชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง จะทำให้ระบบเศรษฐกิจมี ประสิทธิภาพสูง ใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า

ผลเสีย - ทำงานด้วยความจำเจ - สูญเสียความสามารถ ในด้านอื่น - ไม่มีการพัฒนาอย่างอื่น

ลักษณะของตลาดในการแข่งขัน 1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ 2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ 2.1 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด 2.2 ตลาดผูกขาด

ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ - มีผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมาก ผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน การผลิตและการกำหนดราคาสินค้า ขึ้นอยู่กับกลไกราคา

กำไรปกติ ผู้ผลิต ความหายากหาง่าย ของปัจจัยการผลิต

กำไรปกติ ผู้ประกอบการ เพียงพอสำหรับ ประกอบกิจกรรม การผลิต

ตลาดผูกขาด “ กำไรเกินปกติ” - มีผู้ผลิตหรือผู้ขายเพียงรายเดียว - มีผู้ผลิตหรือผู้ขายเพียงรายเดียว - ผู้ผลิตมีอำนาจเหนือตลาดสามารถ ตั้งราคาให้ได้กำไรมากกว่าที่ควร เรียกว่า “ กำไรเกินปกติ”

สินค้าทดแทน 1. ดินสอ ………….. 2. ชา ………….. 3. มะนาว …………..

สินค้าทดแทน 4. น้ำปลา ………….. 5. ไม้ ………….. 6. ไข่เป็ด …………..

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน 1. กาแฟ ………….. 2. ดินสอ ………….. 3. ปากกา …………..

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน 4. ปูนซีเมนต์ ………….. 5. ปุ๋ย ………….. 6. รถยนต์ …………..

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน 7. แพทย์ ………….. 8. ครู ………….. 9. พัดลม …………..

สินค้าทดแทน ปากกา 1. ดินสอ ………….. 2. ชา ………….. 3. มะนาว ………….. กาแฟ มะขาม

สินค้าทดแทน เกลือ 4. น้ำปลา ………….. 5. ไม้ ………….. 6. ไข่เป็ด ………….. กระจก ไข่ไก่

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน ครีมเทียม 1. กาแฟ ………….. 2. ดินสอ ………….. 3. ปากกา ………….. ยางลบ น้ำหมึก

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน ทราย 4. ปูนซีเมนต์ ………….. 5. ปุ๋ย ………….. 6. รถยนต์ ………….. ต้นไม้ น้ำมัน

สินค้าที่ใช้ประกอบกัน พยาบาล 7. แพทย์ ………….. 8. ครู ………….. 9. พัดลม ………….. นักเรียน ไฟฟ้า

พบกันคาบต่อไป เศรษฐกิจพอเพียง