เขื่อนปากชม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
Advertisements

13 คำถาม-คำตอบเกี่ยวกับเขื่อน 1. ทำไมจึงมีการต่อต้านเขื่อนขนาดใหญ่อย่าง กว้างขวาง? ตอบ เขื่อนขนาดใหญ่เป็น ชนวนของความขัดแย้ง ทางสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ.
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ยุทธศาสตร์พัฒนาลุ่มน้ำยม
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
การใช้พลังงานในเศรษฐกิจไทย
พลังพลเมือง : การ เผชิญหน้ากับวิกฤตและผลกระทบ ของโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่ พลังพลเมือง : การ เผชิญหน้ากับวิกฤตและผลกระทบ ของโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่
บทที่ 2 การผลิตและการส่งพลังงานไฟฟ้า.
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
โครงการชลประทานหนองคาย
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
ความร่วมมือในการพัฒนาทุนมนุษย์ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด สามเหลี่ยมอันดามัน
พื้นที่ลุ่มน้ำภาคตะวันออก ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
การประชุมความคืบหน้าโครงการไตรภาคี
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
นโยบายของท่านเลขาธิการ ส.ป.ก. ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบชลประทาน
พรศิลป์ พัชรินทร์ตนะกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย วันพุธที่ 21 ธันวาคม 2554 ณ ห้องคริสตัล ฮอลล์ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ
3. ข้อมูลแหล่งน้ำที่พัฒนา
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
ทะเลแหวก แห่งอันดามัน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
ดอนหอยหลอด (Don Hoi Lot).
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
สำนักงานจัดรูปที่ดินจังหวัดราชบุรี
อภิชาติ สุวรรณมณี ศูนย์จัดการต้นน้ำที่ 2
โครงการอ่างเก็บน้ำธารประเวศ อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
ข้อเสนอ (ตามเอกสารของ กลุ่มผู้ผลิตไฟฟ้า สภาอุตสาหกรรม)
คลิกที่ รูป ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ใน ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติด ลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย.
มาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบฯ เบื้องต้น
โครงการประตูระบายน้ำห้วยบังอี่ บ้านนาโพธิ์ ตำบลโพธิ์ไทร
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
การออกแบบคลองและอาคารส่งน้ำ
“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2561 งบประมาณ ล้านบาท
แผนงานป้องกันและลดผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง สภาวะภูมิอากาศ โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรอุทยาน แห่งชาติทางทะเล ( กิจกรรมจัดการแนวปะการังและชายหาด )
โลกร้อน!!ครับ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบส่งน้ำสถานีสูบน้ำ PL2 PL3
การสร้างสมดุลของอาหารและพลังงาน
บทที่ 3 ผลกระทบของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
สมาชิกในอาเซียน.
สถานที่ท่องเที่ยวหน้า หนาว จัดทำโดย เด็กหญิง ชุติกาญจน์ ยี่บุญ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/12 เลขที่ 1 เสนอ คุณครูอรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด.
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2559 งบประมาณ ล้านบาท
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2560 งบประมาณ 600 ล้านบาท
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เขื่อนปากชม

ภาพจำลองโครงการไฟฟ้าพลังน้ำฝายปากชม

เขื่อนกั้นโขง โรงไฟฟ้าแสนล้าน และพลังงานที่ล้นเกิน แม่น้ำโขง ไหลผ่าน 6 ประเทศ จีน พม่า ลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม รวมความยาวทั้งสิ้น 4,909 กิโลเมตร

“ความจำเป็น” ของโครงการ เพื่อตอบสนองความต้องการ ด้านพลังงานที่สูงขึ้นของประเทศไทย ต้นปี 2549 ได้ปัดฝุ่น โครงการเขื่อนผามอง มาเป็น เขื่อนปากชม โดยเรียกชื่อโครงการว่า “โครงการไฟฟ้าพลังน้ำฝายปากชม”      เขื่อนปากชม กำลังการผลิต 1,079 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่บนแนวพรมแดนไทย-ลาว ตรงบ้านห้วยขอบ ต.หาดคัมภีร์ อ.ปากชม จ.เลย และบ้านห้วยหาง เมืองสังทอง แขวงนครเวียงจันทน์ สปป.ลาว ค่าลงทุนโครงการ – รวมภาษีนำเข้า ค่าเงินเฟ้อ ดอกเบี้ยระหว่างก่อสร้าง และค่าธรรมเนียม อยู่ที่ 69,641ล้านบาท

โครงการ เขื่อนผามอง 4,800 เมกะวัตต์ ปัญหา ณ เวลานั้น ช่วงทศวรรษ 1960 วางแผนก่อสร้างชุดเขื่อนขั้นบันไดแม่น้ำโขง ชื่อโครงการ เขื่อนผามอง ปัญหา ณ เวลานั้น ภาวะสงครามความขัดแย้งในภูมิภาคอินโดจีน โครงการนี้มีราคาสูงจนเกินไป ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมอย่างกว้างขวาง ก่อให้เกิดน้ำท่วมถึง 3,700 ตารางกิโลเมตร อพยพประชาชนในประเทศไทยและลาวถึง 250,000คน

ประโยชน์ของโครงการ เขื่อนปากชม เกิดอ่างเก็บน้ำมีความจุประมาณ  807.77  ล้านลูกบาศก์เมตร ติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด  1,079  เมกะวัตต์ ชาวไทยจ่ายค่าไฟถูกลง

ในโครงการเขื่อนปากชมจากน้ำโขง ไปยังเขื่อนอุบลรัตน์ เส้นทางการผันน้ำ ในโครงการเขื่อนปากชมจากน้ำโขง ไปยังเขื่อนอุบลรัตน์

เขื่อนคุกคามระบบนิเวศและสิทธิชุมชน เตือนรัฐบาลไทยอย่าผลีผลามสร้าง ”เขื่อนปากชม”

ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ปิดกั้นการอพยพของปลาในแม่น้ำโขง การระบาดของเชื้อโรคในอ่างเก็บน้ำ เปลี่ยนแปลงของแนวพรมแดนในแม่น้ำโขงของไทยและลาว ระดับน้ำโขงขึ้น-ลงไม่แน่นอน และไม่เป็นไปตามฤดูกาล น้ำท่วมบ้านคกเว้า โรงเรียน และวัดโนนสว่างอารมณ์ อ.ปากชม น้ำท่วมบ้านห้วยหาง เมืองสังทอง แขวงนครเวียงจันทน์ น้ำท่วมพื้นที่เพาะปลูกริมตลิ่ง พื้นที่เกษตร ถนน และสะพานบางแห่ง และน้ำจะเอ่อท่วมเข้าไปในลำห้วยสาขา น้ำท่วมเกาะแก่ง แหล่งท่องเที่ยว

น้ำมหาศาลประโยชน์เพื่อประชาชน?  น้ำมหาศาลประโยชน์เพื่อประชาชน? ปริมาณน้ำมหาศาล เพื่อเพิ่มพื้นที่ชลประทานในภาคอีสานหลายล้านไร่ แต่คำถามที่สำคัญคือ เราจะกระตุ้นให้ชาวบ้านใช้น้ำทำการเกษตรอย่างไร จากน้ำที่มากมายมหาศาลขนาดนี้

“ความจำเป็น” และ "ความน่าลงทุน"

จะถูกบวกอยู่ในบิลค่าไฟฟ้า การลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ มักก่อให้เกิดต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ทั้งยังสร้างภาระทางเศรษฐกิจของประเทศ และท้ายที่สุด ต้นทุนเหล่านั้น จะถูกบวกอยู่ในบิลค่าไฟฟ้า กลายเป็นภาระที่คนไทยผู้ใช้ไฟฟ้าต้องแบกรับในที่สุด และหากหันกลับมามองที่เขื่อนปากชม ซึ่งสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าที่พึ่งพิงได้เพียง 20% ของกำลังการผลิตติดตั้งรวม 1,079 เมกะวัตต์ ซึ่งเท่ากับประมาณ 210.14 เมกะวัตต์เท่านั้น แล้วการลงทุนโครงการที่มีมูลค่ามากกว่าแสนล้านบาท นี้จะมีความคุ้มค่าหรือไม่ กับความเสียหายมหาศาลที่จะเกิดขึ้น”

เราควรพิจารณาอย่างถ้วนถี่และลึกซึ้ง มิฉะนั้นจะเข้าไปอยู่ในวังวน ผลประโยชน์ของแวดวงอุตสาหกรรมเขื่อน ที่พัวพันกับบรรดานายทุนที่ดินรายใหญ่ นักการเมือง บรรษัทข้ามชาติ และ บริษัทที่ปรึกษา

ขอบคุณครับ