พันธะเคมี.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
Photochemistry.
Electronic Transition
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
Ground State & Excited State
Conductors, dielectrics and capacitance
เมื่อสารดูดกลืนแสง มีการถ่ายเทประจุ (charge transfer) หรืออิเล็กตรอน
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
ปฏิกิริยาออกโทซิเดชัน (autoxidation)
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
1st Law of Thermodynamics
สมบัติของสารและการจำแนก
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ตอนที่ 5
Intermolecular Forces
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
พันธะเคมี Chemical bonding.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
H 1 1s1 He 2 1s2 Li 3 1s22s1 = [He] 2s1 Be 4 1s22s2 = [He] 2s1
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
Chemical Bonding I: Basic Concepts
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
กำหนดการสอน วิชาเคมี ว30221
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
Periodic Table.
พื้นฐานทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
พื้นฐานทางเคมีของชีวิต
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
Valent Bond Theory (VBT) ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
แนวโน้มของตารางธาตุ.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
ความหมายและชนิดของคลื่น
Touch Screen.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
สารประกอบ.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) ความรู้พื้นฐานเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล จังหวัดปทุมธานี
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พันธะเคมี

พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล พันธะเคมี ก็คือ ….. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมภายในโมเลกุล แบ่งเป็น 1. พันธะโคเวเลนต์ (Covalent bond) 2. พันธะไอออนิก (Ionic bond) 3. พันธะโลหะ (Matallic bond)

แบบจำลองโครงสร้างของโลหะ

พันธะโลหะ คือ แรงดึงดูดระหว่างไอออนบวกที่เรียงชิดกันกับอิเล็กตรอนที่อยู่โดยรอบ แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)

ทำไมอิเล็กตรอนของโลหะถึงเคลื่อนที่ได้ตลอดเวลา? แบบจำลองทะเลอิเล็กตรอน (electron sea model)

โลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซซันที่ต่ำ ดังนั้นจึงยึดอิเล็กตรอน วงนอกสุดไว้อย่างหลวมๆ ทำให้อิเล็กตรอนเหล่านี้เคลื่อนที่ไปมา รอบๆโลหะตลอดเวลา อิเล็กตรอนเหล่านี้ทำหน้าที่คล้ายกาวที่ช่วยยึดไอออนบวกให้อยู่ในตำแหน่งที่คงที่ ไว้ด้วยกันอย่างแข็งแรง ความแข็งแรงของพันธะโลหะขึ้นอยู่กับจำนวนอิเล็กตรอน อิสระและขนาดของไอออนบวก

พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ 1. นำไฟฟ้าและความร้อนได้ดี การที่อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ไปมาในโลหะได้ ทำให้โลหะมีคุณสมบัติเป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี

พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ (ต่อ) 2. สามารถตีเป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้

พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ) 3. มีผิวเป็นมันวาว ผิวหน้าของโลหะเป็นมันวาว เนื่องจากอิเล็กตรอนอยู่ไม่ประจำที่และเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระจะสามารถดูดกลืน และกระจายแสงได้ จึงทำให้โลหะสามารถสะท้อนแสงได้

พันธะโลหะกับสมบัติบางประการของโลหะ(ต่อ) 4. มีจุดหลอมเหลวสูง เนื่องจากพันธะโลหะเป็นพันธะที่แข็งแรง เกิดจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเวเลนซ์อิเล็กตรอนอิสระทั้งหมดกับไอออนบวก

พันธะไอออนิก

การเกิด MgCl2 1 โมล มีการเปลี่ยนแปลง 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. Mg (s) Mg (g) E1 = 150 kJ 2. Mg (g) Mg+ (g) + e- E2 = 738 kJ 3. Mg+(g) Mg2+ (g) + e- E3 = 1,451 kJ 4. Cl2(g) 2Cl (g) E4 = 242 kJ 5. Cl(g) + e- Cl- (g) E5 = 349 kJ 6. Mg2+(g) + 2Cl- (g) MgCl2 (s) E6 = 2,526 kJ รวมสมการ Mg(s) + Cl2 (g) MgCl2 1 โมล คำนวณได้ดังนี้ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .........................................................................................................................................................................

ไอออนิกของแข็ง ไอออนิกหลอมเหลว ไอออนิกสารละลาย 4.1

ทำไมไอออนิกถึงเปราะ แตกหักง่าย

พันธะโควาเลนต์

PAT 2 Oct’52

PAT 2 Oct’52

pat2 มีนา 54

pat2 มีนา 53

pat2 กรกฎา 53

สภาพขั้วขึ้นอยู่กับค่า .................

แรงระหว่างอนุภาค สาเหตุการเกิด อนุภาคที่เกิด 1. แรงแวนเดอร์วาล 2. แรงลอนดอน 3.แรงระหว่างขั้ว (dipole-induced dipole)เหนี่ยวนำ 4. แรงระหว่างขั้ว (dipole-dipole)

แรงระหว่างอนุภาค สาเหตุการเกิด อนุภาคที่เกิด 5. พันธะไฮโดรเจน 6.แรงดึงดูดของพันธะโลหะ