จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ
Advertisements

โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
รายละเอียดตัวชี้วัดที่ 10 (จังหวัด)
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การขับเคลื่อนโครงการคนไทยไร้พุง นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
นโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แผนงาน/โครงการ กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2554
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ และ รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการ แบบมีส่วนร่วม วัน...ที่ ... มกราคม 2557 เวลา ……. น. ณ ……………………………………………
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
เกณฑ์การประเมิน องค์กรต้นแบบไร้พุง
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเครือข่าย/เสริมศักยภาพเครือข่าย จัดให้มีเวทีเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การรณรงค์ สร้างกระแสลดละเลิกบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ผู้ที่มีค่าดัชนีมวลกาย
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
  โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามราชกุมารี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards)
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี

หลักการและเหตุผล กรมอนามัย ดำเนินการรณรงค์สร้างกระแสโครงการคนไทยไร้พุง ปี 2550 สร้างกระแสจากบุคคลที่อ้วน ลงพุง สมัครเข้ามาเป็นบุคคลต้นแบบ ที่รู้จักการจัดการควบคุมน้ำหนัก ด้วยภารกิจ 3 อ. ปี 2551 รับสมัครองค์กรต่าง ๆ เพื่อเป็น องค์กรไร้พุงต้นแบบ และชุมชนไร้พุง ต้นแบบทั่วประเทศ

หลักการและเหตุผล ปี 2552 เน้นที่เจ้าภาพตัวจริงคือ คณะกรรมการบริหารจังหวัด อปท. และ สสจ. เป็นบุคคลต้นแบบ และองค์กรต้นแบบของจังหวัดที่รัก(ษ์)สุขภาพของตนเป็นอย่างดี รณรงค์ และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้วิธี ประเมินรอบเอวด้วยตนเอง มีนโยบาย และ การบริหารจัดการ สร้างปัจจัยเอื้อต่อการลดพุง ของประชาชน โดยใช้ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อโทรทัศน์ วิทยุ และสื่อสิ่งพิมพ์

หลักการและเหตุผล ปี 2553 เน้นที่เจ้าภาพตัวจริง คือคณะกรรมการบริหารจังหวัด อสม. ทั่วประเทศ สสจ. องค์กรใหม่ 1 แห่ง และ ประชาชนในพื้นที่ อปท. 1 แห่ง เป็นบุคคลต้นแบบ และองค์กรต้นแบบของจังหวัด ที่รัก(ษ์)สุขภาพของตนเป็นอย่างดี รณรงค์ และประชาสัมพันธ์จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ผ่านสื่อ โทรทัศน์ วิทยุ และสื่อสิ่งพิมพ์

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อขยายฐานการมีส่วนร่วมของ อสม.ประชาชน ทุกจังหวัด ทั่วประเทศ โดยมีคณะกรรมการบริหารระดับจังหวัด อปท. สสจ. เป็นต้นแบบ 2. เพื่อรณรงค์ให้เกิดการสื่อสารในสังคมเรื่องอ้วนลงพุง ตลอดจนพิษภัยของโรคอ้วน โดยผ่านบุคคล และองค์กรต้นแบบ 3. เพื่อให้ความรู้และวิธีการที่ถูกต้องในการใส่ใจสุขภาพ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยภารกิจ 3 อ. และลดน้ำหนัก อย่างถูกต้อง

กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย 1. ระดับองค์กร 2. ระดับบุคคล 1. ระดับองค์กร 1.1 บุคลากรใน สสจ. (นพ.สสจ., ข้าราชการ, ลูกจ้าง) 1.2 ประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 แห่ง (อายุ 15 ปี ขึ้นไป) 1.3 องค์กรภาครัฐ/เอกชน 1 แห่ง (โดย สสจ. เป็น Caoching) 2. ระดับบุคคล 2.1 หัวหน้าหน่วยงานราชการส่วนภูมิภาคระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานการประชุมจังหวัด 2.2 อสม. ทั่วประเทศ

กำหนดการพิธีเปิดใน วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2553 รูปแบบกิจกรรม เชิญจังหวัดต่าง ๆ ทั้ง 75 จังหวัด เตรียมตัวแทนจังหวัดเข้าร่วมพิธีเปิด โครงการ “จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี” เป็นระยะเวลา 5 เดือน (มีค.-กค.53) รมต.สาธารณสุข และ รมต.มหาดไทย ประธานพิธีเปิด และ ลงนาม MOU กำหนดการพิธีเปิดใน วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2553 ณ โรงแรมนารายณ์ ถนนสีลม กทม. 7

รูปแบบกิจกรรมจังหวัดไร้พุง ครั้งที่ คะแนน กิจกรรม กำหนดส่งข้อมูล 1 วัดรอบเอว 5 กลุ่ม และ ชั่งน้ำหนัก ใน 3 กลุ่มแรก 1. หัวหน้าหน่วยราชการระดับจังหวัด 2. องค์กร สสจ. (บุคลากรใน สสจ.) 3. องค์กรใหม่ 1 แห่ง 4. อสม. 5. ประชาชนในพื้นที่ อปท. 1 แห่ง จังหวัดต้องส่งข้อมูล เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐาน 1. เป้าหมาย (จำนวนคน) ของทั้ง 5 กลุ่ม 2. จำนวนคนที่เข้าร่วมวัดรอบเอวครั้งที่ 1 แต่ละกลุ่ม 3. ค่าเฉลี่ยน้ำหนักเริ่มต้น ของกลุ่ม 1-3 4. ค่าเฉลี่ยรอบเอวเริ่มต้น ของกลุ่ม 1-3 5. %รอบเอวปกติของผู้ที่เข้าร่วมทั้ง 5 กลุ่ม 31 มีค.53

ครั้ง ที่ คะ แนน สรุปกิจกรรม กำหนดส่งข้อมูล 1 10 -วัดรอบเอว(อสม. , ประชาชน) ชั่งน้ำหนักและวัดรอบเอว(หัวหน้าหน่วยราชการ, สสจ., องค์กรใหม่) เกณฑ์ปกติสูงสุด 5 กลุ่มๆ ละ 2 คะแนน - % ของผู้เข้าร่วมวัดรอบเอว สูงสุด กลุ่ม ละ 2 คะแนน 31 มีค. 2 3 5 -เกณฑ์ ของค่าเฉลี่ยน้ำหนักเทียบกับครั้งที่ 1 ของ สสจ. ลดได้มากที่สุด = 3 คะแนน - % ของผู้เข้าร่วมชั่งน้ำหนักเทียบกับครั้งที่ 1(100 % = 2 คะแนน) -กิจกรรมภาพรณรงค์ภาพรวมของจังหวัด เดือนเมษายน -กิจกรรมรณรงค์ของสมาชิกเหล่ากาชาดจังหวัด เดือน เมษายน 30เมย. 3 2 5 -เกณฑ์ ของค่าเฉลี่ยน้ำหนักเทียบกับครั้งที่ 1 ของ หัวหน้าหน่วยราชการ ลดได้มากที่สุด = 3 คะแนน - % ของผู้เข้าร่วมชั่งน้ำหนักเทียบกับครั้งที่ 1 (100 % = 2 คะแนน) -กิจกรรมภาพรณรงค์ภาพรวมของจังหวัด เดือน พฤษภาคม -กิจกรรมรณรงค์ของสมาชิกเหล่ากาชาดจังหวัด เดือน พฤษภาคม 31 พค. 4 10 5 - เกณฑ์ ของค่าเฉลี่ยน้ำหนักเทียบกับครั้งที่ 1 ที่ ลดลง ของ องค์กรใหม่ - % ของผู้เข้าร่วมชั่งน้ำหนักเทียบกับครั้งที่ 1 (100 % = 5 คะแนน) - กิจกรรมภาพรณรงค์ภาพรวมของจังหวัด เดือน มิถุนายน - กิจกรรมรณรงค์ของสมาชิกเหล่ากาชาดจังหวัด เดือน มิถุนายน 30 มิย. 5 15 10 -เกณฑ์ของค่าเฉลี่ยรอบเอว ที่ลดลง เทียบกับครั้งที่ 1 ของกลุ่ม 1-3 ลดได้มากที่สุดกลุ่มละ 5 คะแนน - % ของรอบเอวปกติเพิ่มขึ้นสูงสุด เทียบกับครั้งที่1 ของกลุ่ม 4-5 -% ของผู้เข้าร่วมวัดรอบเอว สูงสุด กลุ่ม ละ 3 คะแนน 31 กค.

รูปแบบกิจกรรม 5 3 4 กิจกรรม กำหนดส่งข้อมูล 2 ครั้ง ที่ คะ แนน กิจกรรม กำหนดส่งข้อมูล 2 3 4 5 กิจกรรมรณรงค์ของจังหวัดใน เดือน เมย., พค., มิย. ประกอบด้วย 1. กิจกรรมด้านนโยบายสาธารณะเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ และการขับเคลื่อนจังหวัดไร้พุง 2. ด้านการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างกระแสความตื่นตัวให้กับประชาชนในจังหวัด ได้ตระหนักถึงภัยร้ายอ้วนลงพุง และความรู้ เรื่องการจัดการโรคอ้วนลงพุงที่ถูกต้องโดยจังหวัดและเหล่ากาชาดจังหวัด หมายเหตุ ขอให้จังหวัดรวบรวมทั้ง 2 กิจกรรม สำเนาลงแผ่น VCD หรือ DVD ส่งไปกองโภชนาการ กรมอนามัย ข้อตกลง **ข้อมูลที่ได้รับช้าหลังวันที่ 10 ของแต่ละครั้งจะไม่คิดคะแนนให้ E-mail: kitvorapatw@gmail:com 30 เมย. 31 พค. 30 มิย.

รางวัล “ฆ้องทองคำ”สำหรับจังหวัดที่ประชาสัมพันธ์สร้างสรรค์ จัดงานประกาศผู้ชนะเลิศ “จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี” ชนะเลิศ รับรางวัลเงินสด 100,000 บาท พร้อมโล่ประกาศเกียรติคุณ ทีมรองชนะเลิศที่ 1 รับรางวัลเงินสด 80,000 บาท พร้อมโล่ ทีมรองชนะเลิศที่ 2 รับรางวัลเงินสด 50,000 บาท พร้อมโล่ จากรมต.มหาดไทย และ รมต.สาธารณสุข ชนะเลิศ ระดับเขตผู้ตรวจกระทรวงสาธารณสุข (18 เขต) รางวัลเงินสด 20,000 บาท พร้อมโล่ จากรมต.สาธารณสุข และรมต.มหาดไทย “ฆ้องทองคำ”สำหรับจังหวัดที่ประชาสัมพันธ์สร้างสรรค์ เชิญชวนคนในจังหวัดมาร่วมไร้พุงยอดเยี่ยม 1 รางวัล

จังหวัดไร้พุง มุ่งสู่สุขภาพดี Thank You ! จังหวัดไร้พุง มุ่งสู่สุขภาพดี www.themegallery.com