หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
Advertisements

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพของโลก
แบบทดสอบ รูปทรงสัณฐานของโลกลักษณะใดทำให้โลกมิได้มีทรงกลมเหมือนลูกปิงปอง ก แกนของโลก เอียง ข มีผิวขรุขระคล้ายผลส้ม ค ขั้วโลกทั้งสองยุบตัวลงเล็กน้อย ง มีพื้นน้ำมากกว่าผิวพื้นดิน.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ระบบสุริยะ (Solar System).
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
น้ำและมหาสมุทร.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
ปรากฏการณ์ข้างขึ้น-ข้างแรม (Lunar's Phases)
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
กาแล็กซีและเอกภพ.
ลักษณะทางกายภาพ ของทวีปแอฟริกา Afica.
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โลก (Earth).
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ดาวเนปจูน (Neptune).
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ รู้และเข้าใจเรื่องประชากร และสิ่งที่ประชากรสร้างขึ้น เพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิต 2.
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ครูจงกล กลางชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และวัฒนธรรม 2.
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
โลกและสัณฐานของโลก.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3) 1 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3) เรื่อง ความรู้เรื่อง โลก จัดการเรียนรู้ โดย ครู จงกล กลางชล

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รู้และเข้าใจเกี่ยวกับโลก เรื่อง การเคลื่อนที่ของโลก การแบ่งซีกโลก

- การเคลื่อนที่ของโลก - การแบ่งซีกโลก สาระการเรียนรู้ 3 ความรู้เรื่อง โลก - การเคลื่อนที่ของโลก - การแบ่งซีกโลก              

1.ลักษณะของวงโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ คือรูปแบบใด …………………………………………………… 4 เติมคำหรือข้อความ 1.ลักษณะของวงโคจรของโลก รอบดวงอาทิตย์ คือรูปแบบใด …………………………………………………… 2. เส้นสมมติที่ลากบนผิวโลกเชื่อม ขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้เรียกว่า

3. ช่วงเวลาที่โลกโคจรเข้าใกล้ ดวงอาทิตย์มากที่สุดตรงกับ 5 3. ช่วงเวลาที่โลกโคจรเข้าใกล้ ดวงอาทิตย์มากที่สุดตรงกับ วันอะไร……………………………….. 4. วันใดที่แกนของโลกหัน ขั้วโลกใต้เข้าหาดวงอาทิตย์ มากที่สุด……………………………..

5. ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ส่องแสง ตั้งฉากกับผิวโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตร 6 5. ช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์ส่องแสง ตั้งฉากกับผิวโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตร ทำให้ระยะเวลากลางวัน กลางคืน ยาวเท่ากันทั่วโลกเรียกว่าอะไร …………………………………………………..

โลก คือ ดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ในระบบสุริยะ มีสภาพแวดล้อม 7 โลก คืออะไร โลก คือ ดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ในระบบสุริยะ มีสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัยและ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต

มีลักษณะที่เป็นวัตถุทรงกลม ที่มีหินเป็นองค์ประกอบ 8 โลก มีลักษณะที่เป็นวัตถุทรงกลม ที่มีหินเป็นองค์ประกอบ หมุนรอบตัวเองอยู่ในจักรวาล

1.บรรยากาศ 2.เปลือกโลก 3.เนื้อโลก 4.แก่นโลก 9 1.บรรยากาศ 2.เปลือกโลก 3.เนื้อโลก 4.แก่นโลก สีน้ำเงิน คือ เปลือกโลกชั้นนอก สีแดง คือ เปลือกโลกชั้นใน สีเหลืองเข้ม คือ แกนชั้นนอก สีเหลือง คือแกนชั้น

รูปร่างของโลก ตรงส่วนบนและส่วนล่างของโลก 10 รูปร่างของโลก ตรงส่วนบนและส่วนล่างของโลก ค่อนข้างแบน มีเส้นศูนย์สูตร ซึ่ง เป็นเส้นสมมติที่สมมติขึ้น เพื่อ บอกส่วนที่กว้างที่สุดของโลก

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลก 11 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับโลก มีเส้นผ่าศูนย์กลางวัดในแนว ศูนย์สูตรยาว 12,759 กิโลเมตร วัดในแนวขั้วโลกเหนือไปยังขั้ว โลกใต้ยาว 12,719 กิโลเมตร

มีเส้นรอบวงวัดในแนวขั้วโลก เหนือมายังขั้วโลกใต้ 12 มีเส้นรอบวงวัดในแนวขั้วโลก เหนือมายังขั้วโลกใต้ ยาว 40,000 กิโลเมตร และ เส้นรอบวงวัดที่ศูนย์สูตรยาว 40,075 กิโลเมตร แสดงว่า โลกมีสัณฐาน………………………….

*โลกเล็กกว่าดวงอาทิตย์ 109 เท่า *ใหญ่กว่าดวงจันทร์ 4 เท่า 13 *โลกเล็กกว่าดวงอาทิตย์ 109 เท่า *ใหญ่กว่าดวงจันทร์ 4 เท่า * เป็นดาวเคราะห์ใหญ่เป็นอันดับ 5 * อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นอันดับ 3 * มีเนื้อที่พื้นผิว 511 ล้าน ตรกม. * มีน้ำปกคลุมร้อยละ 71 * เป็นพื้นดินร้อยละ 29

14 1.การเคลื่อนที่ของโลก - หมุนรอบตัวเอง - โคจรรอบดวงอาทิตย์

การหมุนรอบตัวเองของโลก 15 การหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้เกิดกลางวัน กลางคืน และการกำหนดทิศ - ทำให้เกิดฤดูกาล

โลกหมุน โลกโคจร ต่างกันอย่างไร ? 16 โลกหมุน โลกโคจร ต่างกันอย่างไร ?

17 การโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เกิดอะไรขึ้นบ้าง ? กลางวัน-กลางคืน

18 โคจรรอบดวงอาทิตย์ ฤดูกาล

เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก 19 พบกันใหม่ เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก