Coordinate Systems & Map Projections.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Advertisements

Conic Section.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 3 การเคลื่อนที่.
การวิเคราะห์ความมั่นคงของโครงสร้างหิน
Image Coordinates, Geometric Correction & Image Geo-referencing
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
เส้นสุริยวิถีเอียงทำมุมกับเส้นศูนย์สูตรฟ้า ทำให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์ขึ้น - ตก ค่อนไปทางเหนือหรือใต้ในรอบปี
TWO-DIMENSIONAL GEOMETRIC
สเฟียโรมิเตอร์(Spherometer)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 2
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
เป็นจุดใดๆ ในพิกัดทรงกลม
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
(Global Positioning System)
สารสนเทศ (Information) เครื่องมือและอุปกรณ์ (Tool&Equipments) บุคลากร (Human) กระบวนการ (Procedure) ข้อมูล (Data)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
ระบบอนุภาค.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
Function and Their Graphs
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่ นางสาวพัชรินทร์ รุ่งสว่าง ตำแหน่งครูผู้ช่วย
การประดิษฐ์นาฬิกาแดด
รายงาน เรื่อง โลกดาวเคราะห์บ้านของเรา (ตำแหน่งบนโลก) เสนอ
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
และการใช้โปรแกรมแปลงค่าพิกัด UTMGEO
การใช้เครื่องมือจับพิกัด GPS และ การใช้แผนที่เพื่อการจัดเก็บข้อมูล โดย ดร.ณัฐ มาแจ้ง นายไชยาพงษ์ เทพประสิทธิ์
Computer Graphics เรขาคณิต 2 มิติ 1.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
การหาพิกัดภูมิศาสตร์ โครงการส่งเสริมและลดต้นทุนการผลิตข้าว
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การสร้างแบบเสื้อและแขน
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
วงรี ( Ellipse).
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
Module 2 คุณสมบัติทางกายภาพของวัสดุอาหาร
Map Types, Scales, Resolution Accuracy Projections
กิจกรรมสร้างจิตสำนึกในการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ( อพ. สธ.)
การตรวจอากาศ การตรวจอากาศ ผิวพื้น เครื่องตรวจความ กดอากาศ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
พื้นที่ผิวและปริมาตรกรวย
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
Spherical Trigonometry
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ความชันและสมการเส้นตรง
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
โลกและสัณฐานของโลก.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ระบบภูมิสารสนเทศสำหรับงานติดตาม ตรวจสอบด้านทรัพยากรป่าไม้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Coordinate Systems & Map Projections

Why care? โลกเป็นผิวโค้ง Spatial Data ส่วนใหญ่ยังคงแสดงอยู่บนแผนที่หรือระนาบราบ (ภาพดาวเทียม, ภาพถ่ายทางอากาศ) ที่เป็นตัวแทนของผิวโค้งของโลก การคำนวณทั้งหมดของ GIS อยู่บนระนาบราบ ไม่ใช่อยู่บนผิวโค้ง

The Earth แกนหมุนของโลกเอียง 23.5 องศาจากแนวตั้งฉากกับระนาบวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ ห่างจากดวงอาทิตย์โดยเฉลี่ย 150 ล้าน km

Issues Shape and Size of the Earth Mathematical Figures of the Earth Transferring Data from Curved Surface onto a Plane Map (National Coordinate System)

Shape of the Earth Physical Geoid Ellipsoid Sphere

Size of the Earth Depends on the selected figure of the earth For sphere, the radius of the earth universally used is about 6371.1 km

Geoid Equipotential Surface at Mean Seal Level (MSL) อธิบายได้ด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ที่อยู่ในรูปของ Series แนวดิ่ง (Plumb Line) จะตั้งฉากกับ Geoid

Ellipsoid เป็นรูปทรงที่เกิดจากวงรีหมุนรอบแกนสั้น เป็น 1st Approximation ของ Geoid เป็นรูปทรงของโลกถ้าหากโลกมีความหนาแน่นของมวลสารเท่ากันทุกแห่ง

Shape and Size of an Ellipsoid กำหนดได้สองแบบคือ กึ่งแกนยาว (a) และกึ่งแกนสั้น (b) กึ่งแกนยาว (a) และค่าความแบน (f = [a-b]/a) b a

Shape and Size of Ellipsoids Everest a = 6377276.345 f = 1/300.8 Clark-1866 a = 6378249.17 f = 1/293.5 WGS-72 a = 6378135.0 f = 1/298.26 WGS-84 a = 6378137.0 f = 1/298.257

P’ P

พื้นหลักฐานอ้างอิง (Datum) Vertical Datum พื้นหลักฐานอ้างอิงดิ่ง Geoid Horizontal Datum พื้นหลักฐานอ้างอิงราบ Ellipsoid + Orientation ของ Ellipsoid เทียบกับ Geoid

ชนิดของ Horizontal Datum Local Datum Indian Datum 1975 ใช้ Everest Ellipsoid โดยกำหนดให้ผิว Ellipsoid สัมผัสกับผิว Geoid ที่หมุดหลักฐานแผนที่เขาสะแกกรัง Global Datum โดยทั่วไปกำหนดให้ CM ของ Ellipsoid ทับกับ CM ของโลกและกึ่งแกนสั้นของ Ellipsoid ทับกับแกนหมุน CIO ของโลก IAU, WGS-72, WGS-84

Local Datum

Global Datum (WGS-84)

การกำหนดพิกัดบนผิว Ellipsoid ทำได้ 2 แบบคือ อ้างอิงจากระบบเส้น Meridian and Parallels อ้างอิงจากระบบพิกัดฉาก 3 มิติ x,y,z ทั้งสองแบบมีความสัมพันธ์กัน สามารถแปลงกลับไปกลับมาได้

Meridians and Parallels

Meridians and Parallels

Geodetic Coordinate Greenwich Meridian P’ Equator Ellipsoid

Datum Transformation Z z P y Y X Geoid x Ellipsoid 1 Ellipsoid 2

ขั้นตอนของ Datum Transform. สมมติแปลงจาก Ellipsoid 1 ไป Ellipsoid 2 เปลี่ยน f,l บน Ellipsoid 1 ไปเป็น x,y,z Transform x,y,z ไปเป็น X,Y,Z โดยการเลื่อน (3), หมุน (3), ยืดหด (1) เปลี่ยน X,Y,Z ไปเป็น f,l บน Ellipsoid 2

ระบบพิกัดบนระนาบ

Projection Surfaces คือระนาบ (Plane) หรือรูปทรงอื่นที่สามารถคลี่ออกได้เป็นระนาบโดยไม่เกิด Distortion Cone ทรงกรวย Cylinder ทรงกระบอก

Map Projection คือวิธีการถ่ายทอดข้อมูล (Parallels & Meridians, เส้นชายฝั่ง, ถนน, ตำแหน่งอาคาร ฯลฯ) จากผิวโค้งของ Datum ไปยัง Projection Surface การถ่ายทอดข้อมูลทำได้โดยใช้ Mapping Equations Mapping Equations มีได้ไม่จำกัด

Mapping Equations Forward Projection x = f(f,l) y = g(f,l) Reverse Projection f = f’(x,y) l = g’(x,y)

Orientation of Projection Surfaces Normal Oblique Transverse

Examples of Map Projection Lambert Cylindrical Equal-area (1772) x = R. l y = R.sin f Mercator Projection (1569) y = R.ln[tan (p/4 + f/2)

Scale Principal Scale (s) Particular Scale หรือ Scale Factor (m) Scale Error (m - 1)

Principal Scale Principal Scale เท่ากับขนาดของลูกโลก(Globe) หารด้วยขนาดของ Datum ในกรณี Datum เป็นทรงกลม s = r/R คือตัวเลขมาตราส่วนที่แสดงบนแผนที่ ไม่ขึ้นกับตำแหน่งและทิศทางของแต่ละจุด

Scale Factor คือระยะทางสั้นมาก ๆ บนระนาบแผนที่หารด้วยระยะทางเดียวกันบนลูกโลก m = ds/dS เปลี่ยนไปตามตำแหน่ง ที่ตำแหน่งเดียวกันจะเปลี่ยนไปตามทิศทาง (ยกเว้นกรณี conformal)

Transverse Mercator Projection Mercator Projection ในตำแหน่ง Transverse คุณลักษณะเป็นแบบ Conformal

- + CM

UTM Projection Universal Transverse Mercator Projection คือ Transverse Mercator Projection แบบ Secant ที่มีข้อตกลงนานาชาติเพิ่มเติมในการกำหนดความกว้างของโซน, ตำแหน่งของ Central Meridian (CM) ฯลฯ

UTM Projection แต่ละโซนกว้าง 6 องศาตามแนว E-W CM อยู่กลางโซน Scale Factor at CM = 0.9996 (2499/2500) หน่วยที่ใช้เป็นเมตร

พิกัด UTM สำหรับซีกโลกเหนือ พิกัดของแต่ละโซนกำหนดด้วยค่า Easting (E) และ Northing (N) ดังนี้ E = x + 500000 N = y x, y คือพิกัดที่ได้จากการ Transverse Mercator Projection ที่กำหนด CM ตามข้อตกลงนานาชาติ

พิกัด UTM ของประเทศไทย Datum คือ Indian Datum (กำลังจะเปลี่ยนเป็น WGS-84 ในอีก 3-4 ปีข้างหน้า) ประเทศไทยตกอยู่ใน 2 โซน คือ โซน 47 (CM = 99E) และโซน 48 (CM = 105E)