หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
ประชาธิปไตยและการเลือกตั้ง
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ หมายความว่า
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
น.ส.บุญศรี โชติวรรณวิวัฒน์
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
จริยธรรมข้าราชการพลเรือน
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
สัปดาห์ที่ 4.
การเลือกตั้ง (Election)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
YOUR SUBTITLE GOES HERE
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
แนะนำศูนย์ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารกองทุน
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
สภาพปัญหาการรักษาคุณธรรม จริยธรรมในภาครัฐ
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
พ.ร.บ.สภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. 2553
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หัวข้อการบรรยาย รูปแบบและโครงสร้างของ อปท.
การอนุมัติงบประมาณ การอนุมัติงบประมาณ เป็นขั้นตอนที่จะทำให้งบประมาณรายจ่ายประจำปีมีผลบังคับใช้ได้ตามกฎหมาย โดยหลังจากขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเสร็จสิ้นแล้ว.
การบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
โครงการอบรมสร้างเสริมประสบการณ์บุคลากร รพ. สต
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง ความหมาย และการจัดตั้งสถาบันทางการเมือง ที่มาของสถาบันทางการเมือง คุณสมบัติ อำนาจหน้าที่ ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน - การควบคุมตรวจสอบ

ความหมาย และการจัดตั้งสถาบันทางการเมือง กฎหมายรัฐธรรมนูญเป็นกติกาที่จัดตั้งสถาบัน/องค์กรต่างๆของรัฐ “สถาบัน” เป็นนามธรรม เป็นภาพลักษณ์ ซึ่งอาจมีหลายฝ่าย หลายองค์กรรวมอยู่ในสถาบันนั้น เช่นสถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันฝ่ายนิติบัญญัติ สถาบันฝ่ายบริหาร สถาบันฝ่าย ตุลาการ สถาบันทางทหาร การตีความอย่างกว้าง (ในทางการเมือง) เช่นสถาบันพระมหากษัตริย์อาจรวมองค์พระมหากษัตริย์, ราชวงศ์, องคมนตรี, สำนักพระราชวัง และอาจรวมไปถึงโครงการในพระราชดำริ การตีความอย่างแคบ (ในทางอาญา) ต้องเป็นการพิจารณาถึงการกระทำของตัวบุคคลเท่านั้น โดยสังเกตจากคำว่า “องค์พระมหากษัตริย์” “พระราชินีหรือรัชทายาท”

สถาบันทางการเมืองตามรัฐธรรมนูญ เป็นการจัดตั้งสถาบัน/องค์กร นั้นขึ้น โดยกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ สถาบันพระมหากษัตริย์ สถาบันนิติบัญญัติ สถาบันฝ่ายบริหาร สถาบันฝ่ายตุลาการ องค์กร เป็นหน่วยที่เป็นรูปธรรม เช่น องค์กรฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา ซึ่งประกอบด้วย 2 สภา มีสมาชิกสภา มีที่ตั้งสำนักงาน(รัฐสภา) มีผู้ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายรัฐสภา องค์กรฝ่ายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรี มีนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรี, และสำนักงานที่ตั้ง (บ้านพิษณุโลก) เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารทั้งหมด องค์กรฝ่ายตุลาการ คือ ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ที่ตั้งคือ ศาลแต่ละแห่ง องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีองค์กรใดบ้าง การสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งมีขั้นตอนกำหนดไว้

ที่มาของสถาบันทางการเมือง การเข้าสู่ตำแหน่งของแต่ละสถาบันมีการกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ 1. รัฐสภามาจากการเลือกตั้ง/การแต่งตั้ง(สภาสูง) 2. นายกรัฐมนตรีมาจาก ผู้นำเสียงข้างมาในสภา/มาจากการเลือกตั้งโดยตรง 3. ผู้พิพากษา/ตุลาการมาจากการสอบคัดเลือก/การเสนอชื่อโดยประมุขฝ่ายบริหารและผ่านการรับรองจากสภา (การมีส่วนแต่งตั้งจากประชาชน/การแทรกแซงจากฝ่ายการเมือง?) 4. องค์กรอิสระมีกระบวนการสรรหา กับความเป็นกลางในการปฏิบัติหน้าที่

องค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ บริหาร นิติบัญญัติ K ตุลาการ องค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

ในฝ่ายนิติบัญญัติมี 2 สภา ซึ่งมีความเท่าเทียมกัน หลักการสำคัญ – ผู้ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง เป็นผู้ที่มีฐานะสูงที่สุดในระบอบประชาธิปไตย ผล หากจะมีการถอดถอนผู้มาจากการเลือกตั้ง ผู้มีอำนาจถอดถอนได้ ต้องมาจากการเลือกตั้งด้วย ดังนั้น สภาผู้แทนฯ จึงควรเป็นสภาที่มีศักดิ์และสิทธิ์ ไม่อยู่ภายใต้วุฒิสภา ข้อโต้แย้ง หากถือว่าวุฒิสภาเป็นสภาอาวุโส จากผู้มีประสบการณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ และทำหน้าที่ควบคุมตรวจสอบ กลั่นกรอง ก็อาจถือว่าเป็นสภาที่สำคัญไม่น้อยไปกว่าสภาผู้แทนฯ

ฝ่ายบริหารตามที่กำหนในรัฐธรรมนูญ ได้แก่ คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย นายกฯและรัฐมนตรี ในทางทฤษฎี ฝ่ายบริหาร (Executive Organ) ประกอบด้วย 2 ส่วน 1. ฝ่ายรัฐบาล Government เป็นฝ่ายนโยบาย (ฝ่ายการเมือง) 2. ฝ่ายปกครอง Administration เป็นฝ่ายปฏิบัติการ รัฐมนตรีมี 2 ฐานะ คือเป็นฝ่ายรัฐบาล และเป็นฝ่ายปกครอง ในฐานะหัวหน้าสูงสุดผู้บังคับบัญชาแต่ละกระทรวง นอกจากนี้ ในส่วนราชการ แบ่งเป็น ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค (จังหวัด, อำเภอ, ตำบล, หมู่บ้าน) และส่วนท้องถิ่น (อบจ., เทศบาล, อบต., กรุงเทพ/เมืองพัทยา) รวมถึงองค์กรภาครัฐอื่นๆ เช่น รัฐวิสาหกิจ องค์กรอิสระ (พิจารณาจากบุคลากร งบประมาณ สถานะทางกฎหมาย)

ฝ่ายตุลาการแบ่งเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1. ศาลทหาร 2. ศาลยุติธรรม มี 3 ชั้น คือ ชั้นต้น อุทธรณ์ ฎีกา 3. ศาลปกครอง มี 2 ชั้น คือชั้นต้น และสูงสุด (ระบบศาลคู่) 4. ศาลรัฐธรรมนูญ ซึ่งผลของคำพิพากษาผูกพันทุกองค์กร (รัฐสภา รัฐบาล และศาล) ดังนั้น จึงควรอยู่เหนือทุกฝ่าย หลักประกันความเป็นอิสระของผู้พิพากษา จึงมีระบบการเลื่อนขั้นแบบอัตโนมัติ (เว้นแต่จะปรากฏว่ามีความประพฤติชั่ว) การตรวจสอบการทำหน้าที่ – การตัดสินพิพากษา จึงทำได้โดยการกลั่นกรองโดยศาลชั้นสูงขึ้นไป คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญต้องมีความเด็ดขาดและสูงสุด จึงมีศาลเดียว และไม่อาจฎีกาได้ แต่ต้องถูกวิพากษ์วิจารณ์ได้ ต้องมีการให้เหตุผลทางกฎหมายที่ “รับได้” ปัญหาอยู่ที่ความชอบธรรมและมีเหตุผลทางกฎหมาย กับองค์ประกอบและที่มาของศาล อำนาจอภัยโทษ เป็นอำนาจของประมุขของรัฐที่ใช้ผ่านฝ่ายบริหาร ตามหลักการคานและดุลอำนาจ (ต่างกับนิรโทษกรรม)

คุณสมบัติ การกำหนดคุณสมบัติขององค์กรต่างๆ 1. การมีพื้นฐานจากประชาชนและความเป็นพลเมืองและการได้รับความไว้วางใจ 2. ความประพฤติ ความรู้ความสามารถ 3. ผลประโยชน์ทับซ้อน 4. ความชอบด้วยกฎหมาย

อำนาจหน้าที่ ฝ่ายนิติบัญญัติมีหน้าที่ 1. ควบคุมการบริหารงาน เรียกว่า การกระทำทางรัฐสภา 2. ออกกฎหมาย เรียกว่า การกระทำทางนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ทำหน้าที่ 1. บริหารประเทศตามนโยบายที่วางไว้ เรียกว่าการกระทำของรัฐบาล 2. ใช้บังคับกฎหมาย/ปฏิบัติการ เรียกว่าการกระทำของฝ่ายปกครอง ฝ่ายตุลาการ มีหน้าที่ตัดสินข้อพิพาทตามกฎหมาย เรียกว่าการกระทำทางตุลาการ การกระทำทางตุลาการโดยฝ่ายอื่น เรียกว่าการกระทำกึ่งตุลาการ quasi-judicial การกำหนดว่า “คำวินิจฉัยนั้นให้ถือเป็นที่สุด” หมายความว่า เมื่อเป็นคำวินิจฉัยที่ชอบด้วยกฎหมาย

ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบัน - การควบคุมตรวจสอบ การกระทำแต่ละประเภทต้องใช้การตรวจสอบต่างกัน ได้แก่ 1. การกระทำทางรัฐสภา ใช้การตรวจสอบทางการเมือง เช่นการคานอำนาจโดยการยุบสภา การเลือกตั้ง 2. การกระทำทางนิติบัญญัติ ใช้การควบคุมการออกกฎหมายที่ขัดรัฐธรรมนูญโดยศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ากฎหมายนั้นขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ อันจะทำให้กฎหมายนั้นสิ้นผลไป 3. การกระทำของรัฐบาล ใช้การตรวจสอบโดยทางการเมือง เช่น การตั้งกระทู้ถาม การอภิปรายไม่ไว้วางใจ การเลือกตั้งโดยพิจารณาจากนโยบายของพรรค (ถือเป็นการควบคุมความเหมาะสมของการกระทำ ซึ่งจะไม่มีการคุมความชอบด้วยกฎหมาย เนื่องจากรัฐบาลจะต้องเสนอกฎหมายมารองรับการกระทำของตนเองอยู่แล้ว)

4. การกระทำของฝ่ายปกครอง ควบคุมความชอบด้วยกฎหมาย โดยศาลปกครอง ควบคุมความเหมาะสมด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา (เมื่อประชาชนได้รับความเสียหายอย่างไม่เป็นธรรมจากการกระทำของรัฐ) 5. การกระทำทางตุลาการ ควบคุมโดยการกลั่นกรองจากลำดับศาลชั้นสูงขึ้นไป หากเป็นกรณีการทุจริต ถือเป็นการกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย มีการร้องเรียนตัวผู้พิพากษาได้

การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐในรัฐธรรมนูญ 1. การสร้างองค์กรตรวจสอบ ได้แก่ ให้อำนาจวุฒิสภาเป็นสภาตรวจสอบ กกต. ปปช. สตง. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญานักการเมือง ผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา คสช. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง ศาลยุติธรรม 2. การสร้างระบบและวิธีการตรวจสอบ การแสดงบัญชีทรัพย์สิน-หนี้สิน การตรวจสอบการทุจริต การตรวจสอบระบบการเงิน การถอดถอน

กฎหมายปกครองเป็นกฎหมายที่มุ่งไปที่กฎหมายเกี่ยวกับฝ่ายปกครอง ใน 3 เรื่องหลักๆ คือ การจัดโครงสร้างของฝ่ายปกครอง (มีการแบ่งเป็นราชการ ส่วนกลาง – กระทรวง ทบวงกรม, ส่วนภูมิภาค – จังหวัด อำเภอ ตำบล, ส่วนท้องถิ่น – อบจ. เทศบาล อบต. กรุงเทพ และเมืองพัทยา การใช้อำนาจของฝ่ายปกครอง – การให้บริการสาธารณะ การควบคุมฝ่ายปกครอง – คุมความชอบด้วยกฎหมาย โดยศาลปกครอง