เรื่อง : โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง จัดทำโดย : กลุ่มผัก ตอน : 01 รายวิชา : การติดต่อสื่อสารทางการเกษตร(520-241)
โรคของดินที่ควรเฝ้าระวัง โรคที่เป็นแต่กำเนิด โรคทางพันธุกรรม โรคสืบเนื่องจากสิ่งแวดล้อม โรคที่เกิดภายหลัง โรคที่ควรระวังในการใช้ประโยชน์ โรคที่เกิดสภาพแวดล้อมของดินเปลี่ยนไป
โรคทางพันธุกรรม ดินทรายจัด ดินเค็มชายทะเล ดินเค็มบก ดินปนกรวด โรคทางพันธุกรรม ดินทรายจัด อุ้มน้ำได้น้อย ขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินเค็มชายทะเล ดินที่มีเกลือละลายได้อยู่สูง ทำให้พืชไม่สามารถดูดน้ำและธาตุอาหารได้เป็นปกติ ดินเค็มบก ดินที่มีเกลือละลายได้อยู่สูง พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดินปนกรวด มีกรวดปะปนมากในเนื้อดิน ทำให้ยากต่อการเพาะปลูก และหยั่งรากของพืช
โรคสืบเนื่องจากสิ่งแวดล้อม โรคสืบเนื่องจากสิ่งแวดล้อม ดินตื้น ทำให้พืชหยั่งรากได้น้อย และเสี่ยงต่อการขาดน้ำ ดินด่าง เม็ดปูนสะสมในชั้นดิน ทำให้พืชขาดจุลธาตุ และเสี่ยงต่อการขาดน้ำอย่างมาก ดินอินทรีย์ อินทรียวัตถุเป็นชั้นหนา ทำให้พืชไม่สามารถหยั่งรากยึดเกาะได้ และล้มง่าย ดินแตกระแหง เป็นร่องลึกเมื่อแห้ง พืชเสี่ยงต่อเกิดปัญหารากขาดเมื่อดินแห้ง ดินเปรี้ยว กรดจัด เกิดความเป็นพิษของอลูมินั่มและเหล็ก มีการตรึงฟอสฟอรัสสูงมาก
ดินที่มีความเสี่ยงเป็นดินเค็ม โรคที่ควรระวังในการใช้ประโยชน์ ดินในพื้นที่สูงชัน ดินที่อยู่บนภูเขา ซึ่งอาจจะเกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย และจะทำให้ดินป่วยเป็นโรคดินปนกรวด หรือดินตื้นได้ ดินที่มีกรดแฝง มีความเป็นกรดแฝงอยู่ในดิน สภาพน้ำขังไม่เป็นปัญหา หากมีการระบายน้ำทำให้ชั้นกรดแฝงถูกอากาศ ดินปล่อยกรดออกมาและกลายเป็นดินเปรี้ยวจัด ดินที่มีความเสี่ยงเป็นดินเค็ม ปกติแล้วดินนี้จะไม่เค็ม แต่มีการจัดการไม่ถูกต้อง เช่น การทำฝายกั้นน้ำในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม ก็จะทำให้น้ำใต้ดินที่มีเกลือละลายอยู่ถูกยกสูงขึ้น และนำพาเกลือสู่ผิวแล้วทำให้พื้นที่เหล่านั้นเกิดเป็นโรคดินเค็ม ดินที่มีความเป็นกรดแอบแฝงอยู่ในดิน เมื่ออยู่ในสภาพน้ำขังก็จะไม่เป็นปัญหาใดๆ แต่หากมีการระบายน้ำทำให้ชั้นกรดแฝงนี้ถูกอากาศ ก็จะทำให้ดินปลดปล่อยกรดออกมาและกลายเป็นโรคดินเปรี้ยวจัดทันที
โรคที่เกิดสภาพแวดล้อมของดินเปลี่ยนไป ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินที่มีธาตุอาหารน้อยไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช ดินแน่นทึบ ดินที่มีหน้าดินแน่นทึบ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของรากหาอาหาร ดินดาน ดินที่มีชั้นดินดานแน่นทึบ ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการหยั่งรากของพืช ดินปนกรวด ดินที่มีกรวดปะปนมากในเนื้อดิน เนื่องจากเกิดการชะล้างพังทลายของดิน
โรคที่เกิดสภาพแวดล้อมของดินเปลี่ยนไป ดินตื้น จำกัดรากพืชอยู่ตื้นขึ้น เกิดจากการชะล้างพังทลายของดินอย่างรุนแรง ดินเค็ม ดินที่มีเกลือละลายได้อยู่สูง โดยเป็นภายหลังจากการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยประมาท ดินเปรี้ยว ดินที่มีค่าpHต่ำกว่า 4.5 เนื่องจากการใช้ที่ดินโดยประมาทในเขตใกล้ชายฝั่งทะเล ดินกรด มีค่าpHระหว่าง 4.5-5.0 ในชั้นหน้าดิน เนื่องจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างต่อเนื่องยาวนาน
ดินแตกระแหง ดินกรด ดินเค็ม ดินอินทรีย์ ดินเปรี้ยว ดินแน่นทึบ
ขอบคุณครับ/ค่ะ